ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อดีตสู่อนาคต องค์กรตำรวจกับฝ่ายอำนวยการ
พ.ต.อ.ดร.ปรีดา สถาวร
2
การเป็นองครักษ์รับใช้ใกล้ชิดพระมหากษัตริย์
ดูแลพระราชฐานชั้นใน ฯลฯ การดูแลความสงบเรียบร้อย เป็นหน้าที่ “แก่บ้าน”
3
เทวราชา - สมมติเทพ จตุสดมภ์ เวียง วัง คลัง นา กฎหมายลักษณะโจร องค์รักษ์ และ ปราบโจรผู้ร้ายเป็นครั้งคราว
4
พระบรมไตรโลกนาถ สมุหนายก (เจ้าพระยาจักรี) กรมพระนครบาล (พระยายมราช)
กรมวัง กรมพระตำรวจใน กรมตำรวจมหาดไทย กรมกองตระเวน กรมตำรวจภูธร (หลวงวาสุเทพ) กรมตำรวจภูบาล (หลวงเพ็ชลูเทพ) กองตระเวนขวา (หลวงอินทราบดีศรีราชรองเมือง) กองตระเวนซ้าย (ขุนเทพพลู) พระตำรวจวังซ้าย (จะหมื่นจงรักษา) พระตำรวจวังขวา (จะหมื่นจงภักดีองค์) สมุหพระกลาโหม (เจ้าพระยามหาเสนาบดี) กรมพระตำรวจในขวา (พระอนุชิตชาญชัย: จางวาง) กรมพระตำรวจในซ้าย (พระยาอภัยรณฤทธิ์: จางวาง) กรมพระตำรวจใหญ่ซ้าย (พระอินทรเทพบดีสมุห) กรมพระตำรวจใหญ่ขวา (หลวงพิเรนทร์เทพบดีศรีสมุห) กรมพระตำรวจนอกขวา (หลวงราชนรินทร์) กรมพระตำรวจนอกซ้าย (หลวงอินทรเดช) กรมสนมทหารซ้าย (หลวงพรหมบริรักษ์) กรมสนมทหารขวา (หลวงสุริยภักดี)
5
กรมพระนครบาล กองตระเวนซ้าย กองตระเวนขวา กองจับผู้ร้าย
โครงสร้างองค์กรที่ทำหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยในพระนคร สมัยรัชกาลที่ ๔ กรมพระนครบาล กองตระเวนซ้าย กองตระเวนขวา กองจับผู้ร้าย กองโปลิศคอนสเตเบิ้ล
6
ตำรวจในช่วงพัฒนาการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ (พ.ศ.๒๔๐๓-๒๔๗๕)
พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ หลวงรัถยาภิบาลบัญชา แซมมวล โจเซฟ เบิร์ด เอมส์ (Captain Samuel Joseph Bird Ames) การจัดตั้ง “กองโปลิศคอนสเตเบิ้ล”
7
เหตุผลการปฏิรูปตำรวจแบบตะวันตก
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ข้อจำกัดของจารีตนครบาล ความเจริญของแหล่งค้าขาย มีคดีฉก ชิง วิ่งราว เกิดขึ้นมาก
8
(Inspector of Detective (Inspector of Divisions) (Detective Sergeants)
โครงสร้าง“กรมกองตระเวน” ปรับปรุงโดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (พระองค์เจ้ากฤดาภินิหาร) ใน ร.๕ กรมกองตระเวน อธิบดี หรือจางวาง (Commissioner) เจ้ากรม (Chief Superintendent) ปลัดกรม (Superintendent) (๒ นาย เป็นเจ้าพนักงานกำกับฝั่งขวา ๒ นาย กำกับฝั่งซ้าย) นายเวร (Chief Clerk) ๑ นาย เจ้ากรม (Chief Superintendent) ปลัดกรม (Superintendent) (๒ นาย เป็นเจ้าพนักงานกำกับฝั่งขวา, ๒ นาย เป็นเจ้าพนักงานกำกับฝั่งซ้าย) สมุห์บัญชีใหญ่ (Accountant) ๑ นาย สมุห์บัญชีรอง (Assist Accountant) ๖ นาย แพทย์ใหญ่ (Surgeon) ๑ นาย แพทย์รอง (Assist Surgeon) ๒ นาย นายเวร (Chief Clerk) ๑ นาย กองไต่สวนโทษหลวง กองรักษา 3,262 นาย 158 นาย สารวัตรใหญ่ (Chief Inspector) สารวัตรสอดแนม (Inspector of Detective สารวัตรแขวง (Inspector of Divisions) นายหมวด (Station Sergeants) นายตรวจ (Detective Sergeants) อำเภอ รองอำเภอ นายยาม (Sergeants) คนสอดแนม (Detectives) กำนัน คนตระเวน (Constables) มี ๖๔ โรงพัก รองกำนัน
9
กองรักษา หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 กองตระเวน
รักษาพระนคร กองตระเวนนอกพระนคร ฝั่งขวา กองตระเวนนอกพระนคร ฝั่งซ้าย กองตระเวน แม่น้ำ กองตระเวน เพื่อราชการจร หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 กองที่ 1 กองที่ 5 กองที่ 8 กองที่ 10 กองที่ 12 กองที่ 16 กองที่ 19 โรงพักที่ 1-2 โรงพักที่ 9-11 โรงพักที่ 18-20 โรงพักที่ 24-26 โรงพักที่ 29-31 โรงพักที่ 41-42 โรงพักที่ 48-52 กองที่ 2 กองที่ 6 กองที่ 9 กองที่ 11 กองที่ 13 กองที่ 17 กองที่ 20 โรงพักที่ 3-4 โรงพักที่ 32-34 โรงพักที่ 12-14 โรงพักที่ 21-23 โรงพักที่ 27-28 โรงพักที่ 43-44 โรงพักที่ 53-56 กองที่ 14 กองที่ 21 กองที่ 3 กองที่ 18 กองที่ 7 โรงพักที่ 35-37 โรงพักที่ 45-47 โรงพักที่ 57-60 โรงพักที่ 5-6 โรงพักที่ 15-17 กองที่ 15 กองที่ 22 กองที่ 4 โรงพักที่ 61-64 โรงพักที่ 38-40 โรงพักที่ 7-8
10
สถานภาพกำลังพลของกรมกองตระเวน
กองไต่สวนโทษหลวง ตำแหน่ง จำนวน (คน) ประจำศาลาว่าการฯ เจ้าพนักงานใหญ่ 5 นายเวร 1 เสมียนเอก 2 เสมียนโท 6 เสมียนสามัญ นอกตำแหน่ง อำเภอ 75 กำนัน 33 คนสอดแนม 30 รวม 158 ตำแหน่ง จำนวน (คน) ประจำศาลาว่าราชการฯ เจ้าพนักงานใหญ่ 11 เจ้าพนักงานรอง 17 คนตระเวนกลางนาย 6 คนตระเวน 100 เสมียน 69 ในพื้นที่ต่างๆ เจ้าพนักงานประจำแขวงอำเภอและกำนัน 108 นายกำกับคนตระเวน 206 2,715 รวม 3,262 กองรักษา
11
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
การจัดตั้งกรมตำรวจภูธร พ.ศ.2440 กรมตำรวจภูธร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กองบัญชาการ กองคลังเงิน กองยกกระบัตร กองตรวจบัญชีโจรผู้ร้าย ตำรวจภูธรมณฑล -แผนกร่างแต่ง -แผนกทะเบียน -แผนกรับส่ง -แผนกเก็บ -แผนกตรวจงาน -แผนกจดหมาย -แผนกเบิกจ่าย -แผนกงบประมาณ -แผนกจัดระเบียบ -แผนกซื้อจ่าย -แผนกสรรพาวุธ -แผนกเครื่องแต่งตัว -แผนกโยธา -แผนกยานพาหนะ -แผนกตรวจราชการ -แผนกไต่สวน -แผนกบัญชีโจรผู้ร้าย -แผนกเบ็ดเตล็ด ตำรวจภูธรจังหวัด ตำรวจภูธรอำเภอ ๑๗ มณฑล มีตำรวจ 9,651 นาย สนธิสัญญาสงบศึกกับฝรั่งเศส ความไม่สงบตามหัวเมือง ช่วยเทศาภิบาล
12
สถิติจำนวนตำรวจภูธรและจำนวนพลเมืองในทุกมณฑลทั่ว
พระราชอาณาจักร ลำดับ มณฑล สัญญาบัตร นายสิบ พลตำรวจ เสมียนพนักงาน รวมตำรวจภูธร พ.ศ.2461 พลเมือง พ.ศ.2458 ตำรวจ 1 คน ต่อพลเมือง 1 กรุงเก่า 29 193 600 3 825 650,355 788 2 นครไชยศรี 14 108 330 455 306,007 673 ราชบุรี 22 171 490 686 414,654 604 4 ปราจิณบุรี 18 119 454 594 355,291 598 5 จันทบุรี 11 61 210 283 143,910 509 6 นครสวรรค์ 21 149 480 8 658 315,816 7 พิศณุโลก 17 113 427 9 566 327,344 578 มหาราษฎร์ 26 138 526 707 501,628 710 พายัพ 38 220 790 1,069 775,475 725 10 นครราชสีมา 111 400 533 550,169 1,032 อุดร 102 440 756,484 1,337 12 ร้อยเอ็จ 56 - 276 645,665 2,339 13 อุบลราชธานี 90 435 901,341 2,072 สุราษฎร์ 75 260 351 176,791 504 15 นครศรีธรรมราช 109 420 552 502,317 910 16 ปัตตานี 64 290 372 294806 793 ภูเก็ต 154 539 723 233,052 322 รวม 309 2,033 7,196 9,651 7,851,105 814
13
วิวัฒนาการกิจการตำรวจด้านต่างๆ
พ.ศ.๒๔๑๘ มี “กฎหมายโปลิศ ๕๓ ข้อ” กำหนดอำนาจหน้าที่ การบริหารงานบุคคล ใช้การจ้างบุคคลเข้า มา การจัดตั้งสถาบันผลิตตำรวจ รร.นรต./รร. นายหมวด ใช้วิชาการทหาร สิทธิสภาพนอกอาณาเขต แยกงานไต่สวน- ป้องกันเหตุ ยกเลิกจารีตนครบาล
14
ตำรวจกับการต่อสู้เชิงอำนาจของชนชั้นนำ (พ.ศ.๒๔๗๕-๒๔๑๖)
การควบคุมตำรวจของคณะราษฎร เปลี่ยน อธิบดีฯ จากนายพลตำรวจโท พระยาอธิกรณ์ ประกาศ (หลุยส์ จาติกวนิช) เป็น นายพันตำรวจ เอกพระยาบุเรศผดุงกิจ โอนนายทหารมารับราชการตำรวจ เช่น นาย พันตรีหลวงอดุลเดชจรัส องค์กรตำรวจกับอำนาจทางการเมืองไม่ สามารถแยกออกจากกันได้ ผู้มีอำนาจการเมือง ควบคุมตำรวจ และตำรวจเข้าไปมีบทบาททาง การเมืองด้วยตนเอง ตำรวจเป็นเครื่องมือทางการเมือง โดยใช้ อำนาจสืบสวนสอบสวน จับกุม
15
กรมตำรวจ โครงสร้างกรมตำรวจ เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕ ส่วนที่ ๑ กองบังคับการ
ส่วนที่ ๒ ตำรวจนครบาล ส่วนที่ ๓ ตำรวจภูธร ส่วนที่ ๔ ตำรวจสันติบาล กองกลาง ตำรวจนครบาลเหนือ ตำรวจภูธรภาคกลาง กองที่ ๑ แบ่งเป็น ๔ สาย ๑๙ สถานี ๔ กิ่งสถานี แบ่งเป็น ๕ สาย ๑๙ สถานี ๓๑ กิ่งสถานี กองบัญชี ตำรวจภูธรภาคตะวันออก กองที่ ๒ ตำรวจนครบาลใต้ กองโรงเรียน แบ่งเป็น ๔ สาย ๑๙ สถานี ๑๕ กิ่งสถานี แบ่งเป็น ๕ สาย ๑๓ สถานี ๒ กิ่งสถานี กองฟังคดี ตำรวจภูธรภาคเหนือ กองที่ ๓ แบ่งเป็น ๔ สาย ๑๙ สถานี ๒๖ กิ่งสถานี กองตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจนครบาลธนบุรี กองตำรวจ สรรพากร ตำรวจภูธรภาคใต้ แบ่งเป็น ๓ สาย ๑๙ สถานี ๙ กิ่งสถานี กองทะเบียนกลาง รวมทั้งสิ้น ๑๒๗ สถานี ๑๐๘ กิ่งสถานี แบ่งเป็น ๔ สาย ๑๙ สถานี ๒๑ กิ่งสถานี
16
ตำรวจพระนครบาลธนบุรี
กรมตำรวจ ราชการกลาง ราชการท้องถิ่น กองกลาง กองโรงเรียนพลตำรวจ ตำรวจพระนครบาล ตำรวจภูธร กองคลัง กองฟังคดี ตำรวจพระนครบาลเหนือ ตำรวจภูธรมณฑล ตำรวจภูธรมณฑล ตำรวจภูธรมณฑล ตำรวจพระนครบาลใต้ ตำรวจภูธรจังหวัด กองตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจสันติบาล ตำรวจภูธรจังหวัด ตำรวจภูธรจังหวัด กองทะเบียนกลาง ตำรวจพระนครบาลธนบุรี ตำรวจภูธรอำเภอ ตำรวจภูธรอำเภอ ตำรวจภูธรอำเภอ
17
พรฎ.จัดวางระเบียบราชการกรมตำรวจ ในกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๔๘๕
พรฎ.จัดวางระเบียบราชการกรมตำรวจ ในกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๔๘๕ กรมตำรวจ ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค กองปกครอง กองคดี กองคลัง กองสอบสวนกลาง กองตำรวจสันติบาล ตำรวจภูธรจังหวัด ตำรวจภูธรจังหวัด -แผนก ๑ (สารบรรณ) -แผนก ๒ (เลขานุการ) -แผนก ๓ (ตำราและการศึกษา) -แผนก ๔ (จัดกำลัง) -แผนก ๕ (ทะเบียนพล) -แผนก ๖ (แพทย์) -แผนก ๑ (วินัย) -แผนก ๒ (คดีคนไทย) -แผนก ๓ (คดีคนต่างด้าว) -แผนก ๑ (ตรวจสอบ) -แผนก ๒ (บัญชี) -แผนก ๓ (เงิน) -แผนก ๔ (พัสดุ) -แผนก ๕ (ก่อสร้างและซ่อมแซมสถานที่) -แผนก ๖ (เครื่องแบบ) -แผนก ๗ (อาวุธ) -กองกำกับการกอง ๑ (ค้นคว้าสมุฏฐานของการประทุษร้าย -แผนก ๑-๕ -กองกำกับการกอง ๒ (ทะเบียน) -กองกำกับการกอง ๓ (วิชาการตำรวจ) -กองกำกับการกอง ๑ (ต่างประเทศ) -แผนก ๑-๓ -กองกำกับการกอง ๒ (ไทย) -แผนก ๑-๔ -กองกำกับการ ๓ (ทะเบียนและสถิติ) -กองกำกับการ ๔ (รักษาความปลอดภัย) ตำรวจภูธรอำเภอ ตำรวจภูธรอำเภอ ตำรวจภูธรกิ่งอำเภอ ตำรวจภูธรกิ่งอำเภอ ตำรวจภูธรตำบล ตำรวจภูธรตำบล กองจเร กองตำรวจนครบาล กองตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจภูธรเขตต์ (๙ เขตต์) ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัด -โรงเรียนตำรวจนครบาล -กองตรวจ -แผนกจราจร -แผนกสรรพสามิตต์ -กองกำกับการตำรวจนครบาล -สถานีตำรวจนครบาล -กิ่งสถานีตำรวจนครบาล -แผนก ๑ (สารบรรณ) -แผนก ๒ (บัญชี) -แผนก ๓ (ทะเบียน) -แผนก ๔ (ตรวจคนโดยสารและยานพาหนะ) -กองตรวจ -โรงเรียนตำรวจภูธร -ตำรวจภูธรประจำเรือนจำมหันตโทษ (เฉพาะเขตต์ ๗) ตรวจคนเข้าเมืองอำเภอ ตรวจคนเข้าเมืองอำเภอ ตรวจคนเข้าเมืองกิ่งอำเภอ ตรวจคนเข้าเมืองกิ่งอำเภอ
18
วิวัฒนาการกิจการตำรวจด้านต่างๆ
๒๔๗๖ จัดการบริหารเป็น “ส่วนกลาง” กับ “ส่วน ภูมิภาค”(ยกเลิกมณฑลเทศาภิบาล) ปรับปรุง ขยายหน่วยงาน จัดตั้ง “กองบัญชาการ” การบริหารงานบุคคลตามกฎหมายข้าราชการพลเรือน แต่มี พรฎ.ต่างหาก ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการตำรวจ การเปลี่ยนแปลงอำนาจการสอบสวนหลายครั้ง ๒๕๑๕ จอมพลถนอม แก้ไข ป.วิ.อาญา คดีวิสามัญไม่ ต้องให้ศาลไต่สวน
19
กราฟแสดงจำนวนตำรวจระหว่างปี ๒๕๐๐-๒๕๑๖
อัตรากำลังตำรวจเพิ่มเติม หลังได้รับการสนับสนุนจัดตั้งสถานีตำรวจตำบล จาก USOM รวมทั้งการสนับสนุนอื่นๆ เช่น รถยนต์สายตรวจ อุปกรณ์สื่อสาร ฯลฯ
20
ตำรวจกับบทบาทของขบวนการนิสิตนักศึกษาและชนชั้นกลาง (พ.ศ.๒๕๑๖-๒๕๒๓)
นิสิตนักศึกษาและชนชั้นกลาง : ผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในทศวรรษ ๒๕๐๐ ๑๔ ตุลา ๑๖ สิ้นสุดอำนาจผูกขาด กับระบบการเมืองที่ยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการ การชุมนุมประท้วงที่เกิดขึ้นจำนวนมาก ผู้นำตำรวจเริ่มมาจากตำรวจอาชีพ การแทรกแซงทางการเมืองเปลี่ยนรูปแบบ
21
วิวัฒนาการกิจการตำรวจด้านต่างๆ
การขยายองค์กร: กองบัญชาการ ตำรวจภูธร ๑-๔ ปรับปรุงกองบัญชาการ ตำรวจนครบาล (กก.ปจ.) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ตำรวจ พ.ศ.๒๕๒๑ ข้อบังคับ มท. จำกัดอำนาจการออก หมายจับ เพิ่มอำนาจฝ่ายปกครอง งานมวลชนสัมพันธ์ของตำรวจ ตระเวนชายแดน เพื่อความมั่นคง รับการสนับสนุนจากต่างประเทศเพื่อ ต่อสู้กับคอมมิวนิสต์
22
ตำรวจในยุคการกลับมาของประชาธิปไตย (๒๕๒๓-๒๕๓๕)
การกลับมาของการเปลี่ยนผ่านสู่ ประชาธิปไตย สถาบันรัฐสภาและพรรคการเมืองมี บทบาทมากขึ้น ภายใต้ประชาธิปไตย ครึ่งใบ การสิ้นสุดภัยจากคอมมิวนิสต์ และ ความสมดุลของอำนาจการเมือง ผู้มีอิทธิพลท้องถิ่นเริ่มมีบทบาททาง การเมือง แผนกรมตำรวจแม่บท ฉบับที่ ๑ (๒๕๓๐-๒๕๓๔)
23
การเสนอแนวคิดปฏิรูปตำรวจ
คณะที่ปรึกษาระเบียบบริหารของ นรม. (พล.อ.เกรียงศักดิ์ฯ) กรรมาธิการการ ปกครอง สภา ผู้แทนราษฎร (๒๕๒๓) รัฐบาล คณะอนุกรรมการ เฉพาะกิจเพื่อศึกษา ปรับปรุงการ บริหารงานของกรม ตำรวจ กรมตำรวจ การตั้งทบวงตำรวจ มี กม.กำหนดอำนาจหน้าที่ตำรวจ โอนงานที่ซ้ำซ้อน เพิ่มคุณภาพงานสืบสวนสอบสวน ปรับปรุงโครงสร้างสถานีตำรวจ แบ่งข้าราชการตำรวจมียศ/ไม่มียศ ปรับปรุงฝ่ายอำนวยการ ตั้งวิทยาลัยตำรวจ พัฒนาตำรวจประทวน-พลฯ ตั้งหน่วยวิทยาการประจำจังหวัด ปรับปรุงค่าตอบแทน สวัสดิการ มี รมต.ทบวง กรณีขึ้นกับสำนักนายกฯ หรือกระทรวง จะต้องอยู่ภายใต้การกำกับของ นรม.หรือ รมว.กระทรวง สร้างระบบควบคุมตรวจสอบ จัดระบบสอบสวนกลาง ตำรวจอยู่ใต้ฝ่ายปกครอง องค์การรัฐ รับผิดชอบงานพิเศษ เลื่อนขั้นไปตามสายงาน ยกเลิกระบบยศ กรมตำรวจ -ยุบเลิก บช. -ตั้ง สง.ผช.อ.ตร. -จัดตั้งหน่วยเฉพาะทาง กรมตำรวจ -มีคณะกรรมการ -มีส่วนร่วม
24
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ ก.ตร. เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔
ก.ตร. ตาม พรบ.ระเบียบข้าราชการตำรวจ พ.ศ.๒๕๒๑ ก.ตร. ตามประกาศ รสช.ฉบับที่ ๓๘ กรรมการโดยตำแหน่ง ๑) รัฐมนตรี ประธาน ๒) อธิบดี รองประธาน ๓) เลขาธิการ ก.พ. กรรมการ ๔) รองอธิบดี กรรมการ ๕) ผู้บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ๘ คน ซึ่ง รมต.แต่งตั้งโดยความเห็นชอบ ครม. ๑) ผู้บัญชาการหรือเทียบเท่าขึ้นไป ๔ คน ให้มีผู้บัญชาการตำรวจภูธรรวมอยู่ด้วยอย่างน้อย ๑ คน ๒) ผู้ซึ่งได้รับบำเหน็จบำนาญและเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ตั้งแต่ผู้บังคับการหรือเทียบเท่า ขึ้นไป ๔ คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ๙ คน ดังนี้ ๑) ผู้เคยเป็นข้าราชการตำรวจ ตั้งแต่ รองผู้บัญชาการ ขึ้นไป จำนวน ๖ คน ซึ่งมาจากการเลือกของข้าราชการตำรวจตำแหน่งผู้กำกับการหรือเทียบผู้กำกับการขึ้นไป ๒) ผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ คน ซึ่งได้รับเลือกโดยกรรมการข้าราชการตำรวจโดยตำแหน่ง และผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการเลือกโดยข้าราชการตำรวจระดับผู้กำกับขึ้นไป
25
ตำรวจกับการสร้างความมั่นคงของประชาธิปไตยที่ไม่บรรลุ : วิกฤติความขัดแย้งทางการเมือง (๒๕๓๕-๒๕๕๗*)
การปฏิรูปการเมืองโดย รธน. ๒๕๔๐ อธิบายปัญหาวิกฤติทางการเมืองที่แตกต่างกัน และความหมายของประชาธิปไตยที่ต่างกัน การชุมนุมประท้วง เป็นเครื่องมือต่อสู้ทางการเมือง ตำรวจถูกจัดวางเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง ข้อสงสัยต่อความเป็นกลางในการบังคับใช้กฎหมาย
26
โครงสร้าง ตร. ตาม พ.ร.ฎ. แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ส่วนบังคับบัญชา ส่วนป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ส่วนสนับสนุนการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ส่วนปฏิบัติการเฉพาะทาง ส่วนการศึกษา สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำนักงานส่งกำลังบำรุง สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กองบัญชาการ ตำรวจนครบาล กองบัญชาการตำรวจ สอบสวนกลาง กองบัญชาการตำรวจ ปราบปรามยาเสพติด สำนักงานนายตำรวจราชสำนักประจำ กองบัญชาการศึกษา สำนักงานงบประมาณ และการเงิน สำนักงานกำลังพล โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ตำรวจภูธร ภาค ๑ - ๙ สำนักงาน ตรวจคนเข้าเมือง กองบัญชาการ ตำรวจสันติบาล ตำรวจภูธร ภาค ๑ - ๙ ตำรวจภูธร ภาค ๑ - ๙ สำนักงานกฎหมาย และคดี สำนักงาน จเรตำรวจ ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ กองบัญชาการตำรวจ ตระเวนชายแดน สำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ ส่วนบริการ สำนักงานเลขานุการ ตำรวจแห่งชาติ สำนักงาน ก.ต.ช. สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โรงพยาบาลตำรวจ กองวินัย กองสารนิเทศ กองบินตำรวจ กองการต่างประเทศ
27
วิวัฒนาการกิจการตำรวจด้านต่างๆ
การปรับปรุงองค์กรตามแนวคิดจัดการภาครัฐแนวใหม่ พรบ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ รธน. ๒๕๔๐ เปลี่ยนอำนาจการออกหมาย รับรองสิทธิผู้ต้องหา มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลต่อความร่วมมือระหว่างประเทศ
28
บทเรียนจากอดีตและ ข้อเสนอแนะ
บทเรียนจากอดีตและ ข้อเสนอแนะ
29
การปรับตัวเชิงโครงสร้างให้เป็นองค์กรเชี่ยวชาญ (Specialization)
ยึดหลักการจัดโครงสร้างองค์กรกึ่งทหาร รวมศูนย์ และบทบาทอำนาจหน้าที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย การปรับปรุงและขยายโครงสร้าง เป็นไปตามนโยบาย รัฐบาลและสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจ ภายใต้บริบททางการเมืองที่เอื้อ การปรับโครงสร้างองค์กรในบางครั้งเพื่อตอบสนอง ทางการเมือง การรวมอำนาจ มีความพยามปรับโครงสร้างเพื่อลดอิทธิพลทาง การเมือง โดยจัดตั้งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขึ้น ตรงกันนายกรัฐมนตรี
30
ประชาชน/ชุมชุน/ท้องถิ่น
โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐ กระบวนการยุติธรรม นิติบัญญัติ/สภา บริหาร/รัฐบาล ตุลาการ/ศาล กำหนดนโยบาย มท. ส่วนท้องถิ่น -อบจ. -เทศบาล -อบต. ส่วนภูมิภาค -ผู้ว่าฯ / นายอำเภอ -ส่วนราชการในจังหวัด ส่วนกลาง (ตร.) -ภาค -ภ.จว./บก.น. -สถานีตำรวจ กำกับ กำกับ ประสาน อัยการ อำนาจหน้าที่ งบประมาณ มีส่วนร่วม เลือกตั้ง เลือกตั้ง ประชาชน/ชุมชุน/ท้องถิ่น
31
ข้อเสนอแนะด้านโครงสร้างองค์กร
จัดโครงสร้างองค์กรเพื่อลดการแทรกแซงการเมือง และ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน โดยแบ่งอำนาจ (Deconcentralization) การบริหารงานบุคคลและ งบประมาณ ลงสู่หน่วยงานระดับ กองบัญชาการ กอง บังคับการ/ตำรวจภูธรจังหวัด และ สถานีตำรวจ ทบทวนความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน ภายใน จัดองค์กรและระบบการบริหารงานเป็นระบบเปิด ให้ หน่วยระดับล่างมีอิสระในการปฏิบัติงานและรับผิดชอบต่อ ประชาชนในชุมชนท้องถิ่น ได้แก่ ชุมชนท้องถิ่นร่วมเสนอ ความต้องการ กำหนดเป้าหมาย เห็นชอบแผนงาน โครงการ และนโยบายการปฏิบัติงาน กำหนดสัดส่วน งบประมาณของท้องถิ่นที่ต้องจัดสรรให้หน่วยงานตำรวจ รวมทั้งติดตามผลการปฏิบัติ
32
การพัฒนาสู่ความเป็นวิชาชีพของตำรวจ (professional)
ยุคแรกได้รับอิทธิภาพจากการผลิตและฝึกอบรม แบบทหาร มีการพัฒนาด้านวิทยาการตำรวจ และการพัฒนา บุคลากร ในระยะต่อมา แยกการบริหารงานบุคคลจากระเบียบข้าราชการ พลเรือน วิวัฒนาการการบริหารงานบุคคล อำนาจแต่งตั้ง โยกย้าย เริ่มตั้งแต่ ๑) ใช้อำนาจคนเดียว ๒) ใช้ อำนาจคนเดียวและมีกลไกถ่วงดุล และ ๓) แบ่ง อำนาจและมีกลไกถ่วงดุล การบริหารงานบุคคลถูกแทรกแซงจากฝ่าย การเมือง ตั้งแต่ระดับผู้นำสูงสุด และการแต่งตั้งใน ระดับรอง
33
ลักษณะเฉพาะของงานตำรวจ
เป็นเจ้าพนักงานในกระบวนการยุติธรรม ปฏิบัติ ๒๔ ชั่วโมง เจ้าหน้าที่ตำรวจระดับล่างต้องใช้วิจารณญาณ (Police Discretion) เสี่ยงอันตราย วัฒนธรรมตำรวจ (Police Culture)
34
ข้อมูลเปรียบเทียบเงินเดือน ตำรวจประเทศต่างๆ
ขั้นต่ำ/สูง เทียบเป็นเงินบาท หมายเหตุ สหราชอาณาจักร ขั้นต่ำสุด 106,098 Constable เมื่อผ่านการฝึกอบรม สูงกว่าพลเรือน 0.38 เท่า ขั้นสูงสูง 1,062,893 Metropolitan Police Commissioner ญี่ปุ่น 66, ,770 Grade 1 ขั้น 1-101 สูงกว่าพลเรือน 178, ,631 Grade 9 ขั้น 1-73 สิงคโปร์ ขั้นต่ำ 37,863.74 ไม่ผ่านการเกณฑ์ทหาร สูงกว่าพลเรือน 15.7% 41,826.32 ผ่านการเกณฑ์ทหาร ฮ่องกง 42,937 Constable สูงกว่าพลเรือน 0.13 เท่า 566,066 Commissioner ออสเตรเลีย 1,302,979 AFP Band 1 – 1.1 3,215,814 AFP Band 8 – 8.3
35
ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาความเป็นวิชาชีพ
ลดการแทรกแซงการบริหารงานบุคคลจากอำนาจ ภายนอก การแต่งตั้งผู้นำสูงสุด และการแต่งตั้งระดับรองลงไป พัฒนาระบบตรวจสอบการใช้อำนาจภายในองค์กร ได้แก่ ก.ตร. และ ก.ต.ช. พัฒนาความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ วิจารณญาณที่เหมาะสม โดยเฉพาะข้าราชการตำรวจ ระดับปฏิบัติการ โดยการปรับปรุงระบบการสรรหา และ การพัฒนา จัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานด้านการ สืบสวนสอบสวน และการพัฒนาบุคลากรอย่างเพียงพอ เพิ่มเงินเดือนค่า ตอบแทน ให้เพียงพอต่อการดำรงชีพ อย่างมีศักดิ์ศรี
36
การบังคับใช้กฎหมายและอำนวยความยุติธรรม ตามหลักนิติธรรม
การเปลี่ยนแปลงผู้ใช้อำนาจสอบสวน เป็นการเพิ่ม อำนาจหรือลดอำนาจทางการเมือง ในอดีตมีการใช้กฎหมายให้อำนาจพิเศษใน กระบวนการยุติธรรม เพื่อรักษาอำนาจและเพื่อ ประโยชน์ทางการเมือง มีวิวัฒนาการเพื่อจำกัดการใช้อำนาจการจับ ค้น การควบคุม มีหน่วยงานที่มีอำนาจบังคับใช้กฎหมายเพิ่มมาก ขึ้นในปัจจุบัน ปัจจัยปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกิดจาก ๑) ตัว เจ้าหน้าที่ ๒) ปัจจัยภายนอก อำนาจที่อยู่เหนือ เจ้าหน้าที่ ด้านการบริหาร ให้ความดีความชอบ ให้ โทษ และ ๓) ขาดแคลนทรัพยากร
37
ข้อเสนอแนะด้านการบังคับใช้กฎหมายและอำนวยความยุติธรรม
การสร้างสมรรถนะของพนักงานสอบสวน ให้ เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความรู้ มาตรฐานวิชาชีพ ทักษะการแก้ปัญหา จรรยาบรรณ ปรับปรุงระบบงานสอบสวน ได้แก่ ทีมงาน สืบสวนสอบสวน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ระบบข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ พัฒนาระบบควบคุมงานอำนวยความยุติธรรม ทางอาญาของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ภายในองค์กร รวมทั้งนำข้อมูลมาใช้ประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยศึกษาเทียบเคียงระบบการควบคุมของภาค ธุรกิจเอกชน กระจายงานนิติวิทยาศาสตร์ไปยังส่วนภูมิภาค ให้มากขึ้น
38
ความสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่นและการมีส่วนร่วม
ปัญหาความสัมพันธ์กับ ประชาชนในยุคต้นการ จัดองค์กรสมัยใหม่ โครงสร้างองค์กรแบบ ราชการดั้งเดิม เป็น อุปสรรคในการสร้าง ความสัมพันธ์ การพัฒนางานมวลชน เพื่อความมั่นคงมาสู่งาน ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ ข้อเสนอ ปรับแนวคิดจากการมีส่วนร่วม (participation) เป็นการเป็นหุ้นส่วน (partnership)ระหว่างตำรวจกับทุกภาคส่วนในชุมชน พัฒนากลไกการบริหารและจัดองค์กรให้เกิดการทำงานร่วมกัน
39
งานตำรวจระหว่างประเทศ
งานตำรวจระหว่างประเทศ มีบทบาทมากขึ้นหลัง กระแสโลกาภิวัตน์ การ กระทำผิดที่ไม่จำกัด พรมแดน การก่อการร้าย ประเทศมหาอำนาจ พยายามสร้างกฎกติกา เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ระหว่างประเทศ บนฐาน ของผลประโยชน์ทาง การเมืองระหว่างประเทศ ข้อเสนอ เตรียมพร้อมรับ อาชญากรรมข้ามชาติ ปรับปรุงระบบงาน ป้องกันปราบปรามและ การบังคับใช้กฎหมาย ให้ได้มาตรฐานสากล รับแนวคิดที่เป็น ประโยชน์ต่องาน ตำรวจภายใน ขับเคลื่อนงานตำรวจ ระหว่างประเทศ ลงสู่ หน่วยปฏิบัติ
40
การสร้างหุ้นส่วนเพื่อความปลอดภัย ของประชาชน
การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน แนวโน้มด้านเทคโนโลยี โครงสร้างองค์กรตำรวจและการบังคับ ใช้กฎหมายในยุคต่อไป
41
บทบาทของฝ่ายอำนวยการตำรวจในอนาคต
เข้าใจการบริหารงานยุคใหม่ เชื่อมต่อผู้บังคับบัญชา/หน่วยปฏิบัติ : เห็นใจหน่วยปฏิบัติ เข้าใจผู้บังคับบัญชา รอบรู้ทุกสายงาน ทำงานได้หลายหน้าที่ แม่นยำกฎ ระเบียบ แก้ปัญหามากกว่าเสนอปัญหา : How to ไม่ยึดติดกับวันเวลาราชการ ทำงานรวดเร็ว ปรับตัวให้ทันต่อ IT / ใช้ Social media บทบาทที่เหมาะสมของฝ่ายอำนวยการแต่ละระดับ: ตร. บช./ภาค บก./ภ.จว. สถานีตำรวจ การประสานงาน สร้างเครือข่ายการทำงาน รับการมีส่วนร่วม การดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา/ทีมงาน ทั้งบริหารและพัฒนาบุคคลากร
42
Preeda.s@hotmail.com FB: Preeda Sataworn
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.