งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว
เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ เมธาสิทธิ์ คนการ กลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

2 เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae
- เป็นเชื้อราที่พบในดิน - หน่วยสืบพันธุ์ “ โคนิเดีย” มีลักษณะเป็นรูปยาวรีคล้ายเมล็ดข้าวเกิดต่อกันเรียงเป็นลูกโซ่ที่ส่วนปลายของPhialide และเกาะกันแน่นเป็นแท่ง สีเขียวปนน้ำตาลซีด

3 รูปร่าง

4 สารพิษที่เชื้อราเขียวสร้างขึ้น
- Destruxins (28 types) - Swainsinone - Cytochalasin C

5 ผลที่เกิดจากการได้รับสารพิษ Destruxins
- อาการชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นอัมพาต - ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA, RNA และโปรตีน - ยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน (ขบวนการ phagocytosis )ใน plasmatocytes ระหว่างที่เชื้อเข้าทำลาย

6 อาการของแมลงที่ถูกเชื้อราทำลาย
* เคลื่อนไหวช้าลง หรือไม่เคลื่อนไหว * ผนังลำตัวเปลี่ยนสีเข้มขึ้น * ซากแมลงมีลักษณะแห้ง และแข็งเป็นมัมมี่ * มีเส้นใยของเชื้อแทงทะลุผ่านผนังลำตัวแมลง * สร้างโคนิเดียปกคลุมลำตัวแมลง

7 แมลงดำหนามมะพร้าว (Brontispa longissima)
ติดเชื้อราเขียว

8 ด้วงแรดมะพร้าว (Oryctes rhinoceros (L))
ติดเชื้อราเขียว

9 อาหารที่ใช้เลี้ยงเชื้อราเขียว
อาหารที่ทำจากวุ้น ต่างๆ เช่น PDA, Czapek dox agar, cornmeal agar, oatmeal agar ฯลฯ อาหารเหลว ต่างๆ เช่น น้ำมะพร้าว, PDB, Czapek dox broth, carrot broth ฯลฯ - ธัญพืช ต่างๆ เช่น ข้าว, ข้าวฟ่าง, ข้าวโพด, ถั่วเขียว, ถั่วเหลือง, ข้าวสาลี, ข้าวโอ๊ต, ข้าวบาร์เล่ย์, ฯลฯ

10

11 การใช้ราเขียวควบคุมแมลงศัตรูมะพร้าว

12 แมลงศัตรูที่สำคัญในสวนมะพร้าว
ด้วงแรดมะพร้าว ด้วงงวงมะพร้าว แมลงดำหนามมะพร้าว หนอนหัวดำมะพร้าว

13 ด้วงแรดมะพร้าว (Oryctes rhinoceros L.)

14 ด้วงงวงมะพร้าว (Rhynchophorus ferrugineus)

15 (Coconut hispine beetle)
แมลงดำหนามมะพร้าว (Coconut hispine beetle) Brontispa longissima

16 (Coconut black headed caterpillar)
หนอนหัวดำมะพร้าว (Coconut black headed caterpillar) Opisina arenosella

17 การทดสอบประสิทธิภาพเชื้อราเขียว (Metarhizium anisopliae)

18 การทดสอบประสิทธิภาพ เลี้ยงเชื้อ 14 วัน ปรับกำลังสปอร์
เทลงบนอาหารที่ใช้เลี้ยง

19 ( วัน ) ( 14 วัน ) ( 12 วัน ) การเกิดโรค ด้วงแรดมะพร้าว

20 การทดสอบประสิทธิภาพ

21 การเกิดโรค หนอนหัวดำมะพร้าว ตายภายใน 5 – 7 วัน

22 การเกิดโรค หนอนแมลงดำหนาม ตายภายใน 4 – 6 วัน

23 วิธีการป้องกันกำจัดด้วงแรดในสวนมะพร้าว
1. จัดทำกองล่อด้วงแรดด้วยมูลสัตว์หรือเศษซากพืช

24 2. ใส่เชื้อเมตาไรเซียมอัตรา400 กรัมต่อกอง เมื่อพบหนอนด้วงแรดในกองล่อ

25 3. เริ่มพบหนอนด้วงแรดติด เชื้อเมตาไรเซียมหลังจากใส่เชื้อประมาณ 1 เดือน

26 ติดเชื้อราเมตาไรเซียมในระยะเข้าดักแด้

27 ข้อดีของราเขียวเมตาไรเซียม
ผลิตได้ง่าย สามารถเลี้ยงได้บนเมล็ดธัญพืช และอาหารเทียม มีความคงทนในสภาพแวดล้อมสูง สามารถมีชีวิตอยู่ในดินได้ข้ามปี ใช้ได้ง่าย โดยการคลุกผสมลงดิน หรือการผสมน้ำฉีดพ่น แพร่กระจายได้ง่าย โดยปลิวไปกับลม หรือติดไปกับคน สัตว์ หรือ แมลง

28 ข้อแนะนำและข้อจำกัดในการใช้
* โคนิเดียเชื้อต้องการความชื้นสูง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการงอก จึงใช้ได้ผลดีในช่วงปลายฝน-ต้นหนาว ไม่เหมาะกับพื้นที่แห้งแล้ง หรือสภาพอากาศร้อน * การเก็บโคนิเดียเชื้อรา ที่แห้ง ในระบบสูญญากาศ และที่อุณหภูมิต่ำ จะรักษาความมีชีวิตของเชื้อราไว้ได้นานข้ามปี * ผู้ใช้ควรสวมเครื่องป้องกันขณะใช้ เช่น ใช้ผ้าปิดปาก และจมูก * ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อาจทำให้เกิดอาการผื่นคันได้

29 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google