งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความสำคัญของมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อการพัฒนาประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความสำคัญของมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อการพัฒนาประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความสำคัญของมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อการพัฒนาประเทศ
๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๙

2 ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการดำเนินงาน ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมเครือข่าย เพิ่มผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ รับรองความรู้ ความสามารถ กำกับดูแลการประกอบอาชีพ กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ๓.๑ เร่งสร้างโอกาสอาชีพ และการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ๖.๑๗ เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ SMEs ให้เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเพิ่มองค์ความรู้ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการ 7.3 พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส่งเสริมการพัฒนาระบบการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพื่อใช้ในการประเมินค่าจ้างแรงงาน

3 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสาม ารถ ในการ แข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “ยั่งยืน” “มั่งคั่ง”

4

5

6

7 (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 1 6 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม 2 7 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 3 8 ร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 9 ยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 5 ความมั่นคง 10 5

8 แผนปฏิรูปกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี 2560 INFORMATION TECHNOLOGY
SAFETY THAILAND ยกระดับมาตรฐาน การประกอบ อาชีพในสาขาที่ อาจเป็นอันตราย ต่อสาธารณะเพื่อ สร้างความ ปลอดภัยต่อสังคม เพิ่มผลิตภาพแรงงานสู่ THAILAND 4.0 การสร้างบุคลากรเพื่อเป็นที่ปรึกษาด้านผลิตภาพ การพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงานให้เป็นสากล จัดทำแผนพัฒนากำลังคนให้ครอบคลุม 10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต จัดทำแผนแม่บทระบบสมรรถนะแรงงานตามความต้องการของประเทศ มิติใหม่ของการส่งเสริม การมีงานทำ กลุ่มเยาวชน กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ เตรียม พร้อมเข้าสู่Productive Manpower กิจกรรมหลัก INFORMATION TECHNOLOGY การปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นมาตรฐานสากล(ILO.) การพัฒนาระบบ E-Service, E-Training ,E-Testing กิจกรรมสนับสนุน ปฏิรูปบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน การปฏิรูปกฎหมาย - การปฏิรูปโครงสร้าง การปฏิรูปบทบาทการทำงานเชิงรุก - การปฏิรูปพื้นที่ ให้บริการ(Re-Zoning)

9 Positioning ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน HR Authority
ปรับเปลี่ยนสถานะ เป็นกระทรวงเศรษฐกิจ HR Authority กำกับดูแลการบริหารกำลังแรงงาน ผ่านการดำเนินนโยบาย มาตรการ และกลไกต่างๆ HRD Agency HR Network HR Management หน่วยงานหลัก : สภาองค์การนายจ้าง/ลูกจ้าง หน่วยงานหลัก : National HRD Manager Recruit /Welfare/Quality of work life หน่วยงานอื่นๆ... 9

10 แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๑. เป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ รับผิดชอบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Development Authority) ที่เป็นกำลังแรงงานของประเทศ ๒. ปรับน้ำหนักของภารกิจ ๔ ด้าน คือ ๓ เพิ่ม ๑ รักษา ดังนี้ ๑) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการขับเคลื่อนนโยบาย (Policy Advisor) ๒) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการกำกับดูแล (Regulator) ๓) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการส่งเสริมประสานการดำเนินงาน (Facilitator/Coordinator) ๒) รักษาน้ำหนักภารกิจในการเป็นผู้ดำเนินการเอง(Operator)

11 แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๓. มุ่งเน้นการเพิ่ม “ผลิตภาพแรงงาน (Productivity)” และ “ความสามารถที่แรงงานจะได้รับการจ้างงาน (Employability” โดยการเร่งพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติให้ครอบคลุมสาขาอาชีพสำคัญ ของประเทศ และจ้างงานผู้ที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตลอดจน ส่งเสริมผู้ประกอบกิจการให้จัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน

12 แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๔. การพัฒนาฝีมือแรงงานทั้งระบบแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่ ๑) จัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงาน ๒) พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานฝีมือแรงงาน ๓) ฝึกอบรมแรงงานให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๔) ทดสอบฝีมือแรงงาน และรับรองความรู้ความสามารถ ๕) จ้างงานตามมาตรฐานฝีมือและความรู้ความสามารถ

13 ภารกิจและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงาน
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพของกำลังแรงงานและผู้ประกอบกิจการ เพื่อให้กำลังแรงงานมีฝีมือได้มาตรฐานในระดับสากล มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนาประสิทธิภาพของผู้ประกอบกิจการให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก และควบคุมกำกับดูแลการประกอบอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถ 13

14 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กับ มาตรฐานฝีมือแรงงาน

15 มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ (National Skill Standard)
การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เป็นการทดสอบ/ประเมิน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และทัศนะคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพ ตามเกณฑ์กำหนดของ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ”

16 มาตรฐาน......เครื่องมือบริหารองค์กร
มาตรฐานเป็นเครื่องมือบริหารองค์กรได้อย่างไร ? สถานประกอบกิจการสามารถมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเป็นเครื่องมือในการวางแผนการจ้างและกำหนดโครงสร้างค่าจ้างขององค์กร รวมถึงการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนของพนักงานได้ นอกจากนี้ การจ้างงานโดยใช้ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติยังสามารถลดปัญหาหรือความเสียหายในกระบวนการผลิต หรือบริการ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการที่มีคุณภาพ เพิ่มความน่าเชื่อถือของสถานประกอบกิจการในสายตาของผู้บริโภค

17 มาตรฐานฝีมือแรงงานต่อการพัฒนาประเทศ
แรงงานฝีมือที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ และเมื่อเกิดการยอมรับแรงงานฝีมือของประเทศไทย ก็จะส่งผลในด้านต่างๆ ได้แก่ ความต้องการลงทุนของต่างชาติ และการส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ เป็นต้น เมื่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศดีขึ้น จะส่งผลให้แรงงานได้รับค่าจ้างในอัตรา ที่เป็นธรรม ดำรงชีพอยู่ได้ อยู่ดี กินดี สังคมสงบสุข ประเทศชาติมั่งคง

18 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กำกับได้ด้วยมาตรฐานฝีมือแรงงาน”
“ความเป็นมืออาชีพ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กำกับได้ด้วยมาตรฐานฝีมือแรงงาน”

19 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ความสำคัญของมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อการพัฒนาประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google