ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความสำคัญของมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อการพัฒนาประเทศ
๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๙
2
ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการดำเนินงาน ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมเครือข่าย เพิ่มผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ รับรองความรู้ ความสามารถ กำกับดูแลการประกอบอาชีพ กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ๓.๑ เร่งสร้างโอกาสอาชีพ และการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน พร้อมทั้งยกระดับคุณภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ๖.๑๗ เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ SMEs ให้เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเพิ่มองค์ความรู้ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการ 7.3 พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส่งเสริมการพัฒนาระบบการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพื่อใช้ในการประเมินค่าจ้างแรงงาน
3
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสาม ารถ ในการ แข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “ยั่งยืน” “มั่งคั่ง”
7
(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 1 6 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม 2 7 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 3 8 ร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 9 ยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 5 ความมั่นคง 10 5
8
แผนปฏิรูปกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปี 2560 INFORMATION TECHNOLOGY
SAFETY THAILAND ยกระดับมาตรฐาน การประกอบ อาชีพในสาขาที่ อาจเป็นอันตราย ต่อสาธารณะเพื่อ สร้างความ ปลอดภัยต่อสังคม เพิ่มผลิตภาพแรงงานสู่ THAILAND 4.0 การสร้างบุคลากรเพื่อเป็นที่ปรึกษาด้านผลิตภาพ การพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงานให้เป็นสากล จัดทำแผนพัฒนากำลังคนให้ครอบคลุม 10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต จัดทำแผนแม่บทระบบสมรรถนะแรงงานตามความต้องการของประเทศ มิติใหม่ของการส่งเสริม การมีงานทำ กลุ่มเยาวชน กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ เตรียม พร้อมเข้าสู่Productive Manpower กิจกรรมหลัก INFORMATION TECHNOLOGY การปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นมาตรฐานสากล(ILO.) การพัฒนาระบบ E-Service, E-Training ,E-Testing กิจกรรมสนับสนุน ปฏิรูปบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน การปฏิรูปกฎหมาย - การปฏิรูปโครงสร้าง การปฏิรูปบทบาทการทำงานเชิงรุก - การปฏิรูปพื้นที่ ให้บริการ(Re-Zoning)
9
Positioning ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน HR Authority
ปรับเปลี่ยนสถานะ เป็นกระทรวงเศรษฐกิจ HR Authority กำกับดูแลการบริหารกำลังแรงงาน ผ่านการดำเนินนโยบาย มาตรการ และกลไกต่างๆ HRD Agency HR Network HR Management หน่วยงานหลัก : สภาองค์การนายจ้าง/ลูกจ้าง หน่วยงานหลัก : National HRD Manager Recruit /Welfare/Quality of work life หน่วยงานอื่นๆ... 9
10
แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๑. เป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ รับผิดชอบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Development Authority) ที่เป็นกำลังแรงงานของประเทศ ๒. ปรับน้ำหนักของภารกิจ ๔ ด้าน คือ ๓ เพิ่ม ๑ รักษา ดังนี้ ๑) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการขับเคลื่อนนโยบาย (Policy Advisor) ๒) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการกำกับดูแล (Regulator) ๓) เพิ่มน้ำหนักภารกิจด้านการส่งเสริมประสานการดำเนินงาน (Facilitator/Coordinator) ๒) รักษาน้ำหนักภารกิจในการเป็นผู้ดำเนินการเอง(Operator)
11
แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๓. มุ่งเน้นการเพิ่ม “ผลิตภาพแรงงาน (Productivity)” และ “ความสามารถที่แรงงานจะได้รับการจ้างงาน (Employability” โดยการเร่งพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติให้ครอบคลุมสาขาอาชีพสำคัญ ของประเทศ และจ้างงานผู้ที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตลอดจน ส่งเสริมผู้ประกอบกิจการให้จัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน
12
แนวทางการปรับบทบาทของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๔. การพัฒนาฝีมือแรงงานทั้งระบบแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่ ๑) จัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงาน ๒) พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานฝีมือแรงงาน ๓) ฝึกอบรมแรงงานให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๔) ทดสอบฝีมือแรงงาน และรับรองความรู้ความสามารถ ๕) จ้างงานตามมาตรฐานฝีมือและความรู้ความสามารถ
13
ภารกิจและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงาน
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงานและศักยภาพของกำลังแรงงานและผู้ประกอบกิจการ เพื่อให้กำลังแรงงานมีฝีมือได้มาตรฐานในระดับสากล มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนาประสิทธิภาพของผู้ประกอบกิจการให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก และควบคุมกำกับดูแลการประกอบอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะหรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถ 13
14
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กับ มาตรฐานฝีมือแรงงาน
15
มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ (National Skill Standard)
การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เป็นการทดสอบ/ประเมิน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และทัศนะคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพ ตามเกณฑ์กำหนดของ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ”
16
มาตรฐาน......เครื่องมือบริหารองค์กร
มาตรฐานเป็นเครื่องมือบริหารองค์กรได้อย่างไร ? สถานประกอบกิจการสามารถมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเป็นเครื่องมือในการวางแผนการจ้างและกำหนดโครงสร้างค่าจ้างขององค์กร รวมถึงการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนของพนักงานได้ นอกจากนี้ การจ้างงานโดยใช้ผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติยังสามารถลดปัญหาหรือความเสียหายในกระบวนการผลิต หรือบริการ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการที่มีคุณภาพ เพิ่มความน่าเชื่อถือของสถานประกอบกิจการในสายตาของผู้บริโภค
17
มาตรฐานฝีมือแรงงานต่อการพัฒนาประเทศ
แรงงานฝีมือที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน มีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ และเมื่อเกิดการยอมรับแรงงานฝีมือของประเทศไทย ก็จะส่งผลในด้านต่างๆ ได้แก่ ความต้องการลงทุนของต่างชาติ และการส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ เป็นต้น เมื่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศดีขึ้น จะส่งผลให้แรงงานได้รับค่าจ้างในอัตรา ที่เป็นธรรม ดำรงชีพอยู่ได้ อยู่ดี กินดี สังคมสงบสุข ประเทศชาติมั่งคง
18
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กำกับได้ด้วยมาตรฐานฝีมือแรงงาน”
“ความเป็นมืออาชีพ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กำกับได้ด้วยมาตรฐานฝีมือแรงงาน”
19
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.