งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข
งานทันตสาธารณสุข 2550 กรมอนามัย ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข 9 เมษายน 2550

2 แผนงานทันตสาธารณสุข 2550 แผนงานบูรณาการ กรมอนามัย
บูรณาการตามกลุ่มวัยประชากร บูรณาการตามsetting งานตามพันธกิจหลัก (อื่นๆ) ผลักดันนโยบาย/กม. พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี รูปแบบ แนวทาง/มาตรฐาน ถ่ายทอดและเผยแพร่แก่หน่วยงานภาครัฐและประชาชน เฝ้าระวัง/พัฒนาระบบ กลไกการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพและสนับสนุนภาคีเครือข่าย ประเมินผล วิเคราะห์และจัดการความรู้

3 สุขภาพช่องปาก ประชาชนมีสุขภาพช่องปากดีตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต

4 สถานการณ์สุขภาพช่องปากไม่เร่งด่วนแต่สำคัญ ปัจจัยเสี่ยง สิ่งแวดล้อม
ผู้สูงอายุ 6 ล้าน คน 66 65 48 44 เด็กปฐมวัย 4 ล้าน คน สถานการณ์สุขภาพช่องปากไม่เร่งด่วนแต่สำคัญ ปัจจัยเสี่ยง สิ่งแวดล้อม ฟลูออไรด์ ผลิตภัณฑ์ น้ำตาล ผลการสำรวจระดับจังหวัดในปี พบว่า ฟันน้ำนม โรคฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กไทยมีความชุกอยู่ในระดับสูง พบว่าเด็กเริ่มมีฟันผุตั้งแต่อายุน้อยมากคือเริ่มผุเมื่อมีฟันขึ้นประมาณ 4 ซี่ เด็กอายุ ขวบครึ่งมีฟันผุร้อยละสิบห้า และในอายุ 3 ขวบมีอัตราฟันผุถึงร้อยละ 65 แสดงว่ามีการเพิ่มขึ้นของฟันผุรวดเร็วมากในช่วงอายุ ประมาณ 2 ปี ฟันแท้ พบว่าเด็กวัยเรียน อายุ 12 ปีมีฟันแท้ผุ ร้อยละ 57 เมื่อดูแนวโน้มพบว่าใน 2 ปีความชุกของฟันผุในฟันแท้ดีขึ้นเล็กน้อย ส่วนความชุกการมีเหงือกอักเสบลดลงเล็กน้อยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้แก่การสูญเสียฟันจนไม่สามารถ บดเคี้ยวอาหารได้ ซึ่งดูจากการมีฟันคู่สบอย่างน้อย 4 คู่ ผลการสำรวจระดับจังหวัดในปี พบว่า ในผู้สูงอายุ มีฟันใช้งานได้มากขึ้นคือจากร้อยละ 44 เป็นร้อยละ 48 ตามลำดับเพราะนับคู่สบทั้งส่วนที่เป็นฟันแท้และฟันเทียม พบฟันตกกระในพื้นที่เสี่ยงสูง ร้อยละ แหล่งน้ำบริโภคชุมชน 56 จังหวัดมีค่า F เกินมาตรฐาน ( > 0.7 มก/ลิตร หรือ ppm ) น้ำดื่มบรรจุขวด จาก 45 จ. ( 1,500 ตัวอย่าง ) F เกิน 0.7 ppm 2.9%, F เกิน 1.5 ppm 0.4% (6 ยี่ห้อ) ผลิตภัณฑ์ดูแลอนามัยช่องปาก แปรงสีฟัน : 1/3 ไม่ได้มาตรฐาน ฉลาก : 36% ระบุชนิดขนแปรงไม่ตรงกับที่ตรวจ ยาสีฟัน ฟลูออไรด์ เด็กวัยประถม 6 ล้าน คน 60 57 51 49

5 พฤติกรรมเสี่ยง เด็กอายุ 1 ปีครึ่งยังกินนมขวด % เด็กอายุ 4 ปีกินขนมมากกว่า 2 ครั้งต่อวัน 51.7 % ขนมที่เด็กนักเรียนบริโภคมีแป้งและน้ำตาล % เด็กนิยมบริโภคน้ำอัดลมเพิ่มขึ้นตามวัย อายุ25-59ปีสูบบุหรี่เป็นประจำสูงกว่ากลุ่มอื่น21.3% ผู้สูงอายุสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เคี้ยวหมากหมาก และมีโรคทางระบบที่มีผลต่อภูมิคุ้มกันและการดูแลตนเอง DM,CVA

6 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
เด็กอายุ 1 ปีได้รับการแปรงฟันสม่ำเสมอ 44.8 % เด็กประถมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน % ผู้สูงอายุแปรงฟันเช้าและก่อนนอน % บริการจากสถานบริการของรัฐ( WBC) เด็กอายุ0-2ปีได้รับการตรวจฟัน % ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟัน % เด็กประถมศึกษาได้รับsealant 619,304 คน กลุ่มผู้สูงอายุได้รับบริการใส่ฟันเทียม 61,197คน

7 บูรณาการตามกลุ่มวัยประชากร
เด็กปฐมวัย 0-2 ปี : โครงการ รพ.สายใยรักฯ 3-5 ปี : โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ เด็กวัยเรียน เด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

8 งานทันตฯในเด็กปฐมวัย2550-52
0-2 ปี : โครงการ รพ.สายใยรักฯ 3-5 ปี : โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ การสนับสนุน ประสานงานกับภาคี / ภาคนโยบาย งบประมาณ ตัวชี้วัด กิจกรรมหลัก รณรงค์ด้วยสโลแกน “ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก” ตัวชี้วัด ร้อยละปราศจากฟันผุ ค่าเฉลี่ยDMFT ร้อยละการแปรงฟันหลังอาหารฯในศพด.

9 ระบบบริการคุณภาพ ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี
ฝากครรภ์คุณภาพ โรงเรียนพ่อแม่ อาหาร และโภชนาการ ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว

10 กิจกรรมทันตฯในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่
แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน จัดอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการและไม่หวานจัด - ผลไม้ 3 ใน 5 วัน เด็กได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นทุกวัน(รวมทั้งฟัน)

11 จุดประกายการดูแลฟันเด็กเล็ก
รณรงค์สร้างกระแส ประกวดภาพถ่าย การแปรงฟันในศูนย์เด็กเล็ก จุดประกายการดูแลฟันเด็กเล็ก รณรงค์แปรงฟันทั่วประเทศ

12 วิจัย: F วาร์นิช, ลดการบริโภคหวานในครัวเรือน
ควบคุมน้ำตาล:บังคับใช้ประกาศฯ156 ประเมินผลกระทบหลังออกประกาศ นโยบายนมจืดในศพด. อาหารว่างในศพด. เครือข่ายไม่กินหวาน เด็ก การแปรงฟัน: แนะนำผู้ปกครองในWBC P&P ในเด็ก9เดือน (สปสช) รณรงค์แปรงฟันในศพด. เผยแพร่ปชส. กลุ่มเป้าหมาย: เด็ก ผู้ปกครอง ศพด. รร.อนุบาล ปัจจัยสำคัญ: นมหวาน ขนม ทำความสะอาด ตัวชี้วัด: ร้อยละปราศจากโรคฟันผุ (% CF) การทำความสะอาด บริการส่งเสริมฯ (ตามสิทธิ) โครงการ/งานสำคัญ ควบคุมน้ำตาล บังคับใช้ประกาศฯ156 ประเมินผลกระทบ จัดอาหารว่างในศพด (เกณฑ์ศพด) เครือข่ายไม่กินหวาน การแปรงฟัน WBC ฝึกแปรงฟันผู้ปกครอง เพื่อแปรงฟันให้เด็ก vertical prog สปสช ( บูรณาการสำนักส ) รณรงค์แปรงฟันในศพด (บริษัท คณะทันต) ประชาสัมพันธ์สื่อมวลชน - วิจัยต่อเนื่อง F วาร์นิช, รูปแบบลดการบริโภคหวานในครัวเรือน - พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ หน่วยบริการปฐมภูมิ PCU (สปสช สบช) วิจัย: F วาร์นิช, ลดการบริโภคหวานในครัวเรือน พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ: อบรมทันตาภิบาลใน PCU

13 งานทันตฯในเด็กวัยเรียน
เป้าหมาย นักเรียน ผู้ปกครอง ครู สถานบริการ ปัจจัยสำคัญ อาหาร เครื่องดื่ม การแปรงฟัน การเข้าถึงบริการ ตัวชี้วัด ร้อยละปราศจากฟันผุ ค่าเฉลี่ยDMFT ร้อยละการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน จำนวนเด็กที่ได้รับบริการ sealant

14 Vertical program (หลักประกันสุขภาพ)
ยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี(sealant) วิจัย/พัฒนา/จัดการความรู้ ศักยภาพผู้ปกครองเครือข่ายเด็กไทยฟันดี สื่อนวตกรรมทันตสุขภาพ ขยายเครือข่าย ประกวดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถม การจัดการสิ่งแวดล้อมในรร.ที่เอื้อต่อสุขภาพ ประกวดเมนูอาหารว่างสำหรับเด็กนักเรียน ประเมินผล โครงการยิ้มสดใส โครงการนมฟลูออไรด์

15 งานทันตฯในผู้สูงอายุ
เป้าหมาย ผู้สูงอายุ คนดูแล ชมรมผู้สูงอายุ สถานบริการ ปัจจัย การเข้าถึงบริการ โรคทางระบบ ความสามารถในการดูแลตนเอง ตัวชี้วัด ฟันสี่คู่สบ จำนวนผู้ได้รับบริการ ใส่ฟันเทียม

16 การจัดบริการ ใส่ฟันทุกสิทธิ ฟันเทียมพระราชทาน
วิจัย พัฒนารูปแบบการสร้างเสริมโดยชมรม บทบาททันตบุคคลากรในการส่งเสริมป้องกัน สร้างกระแส รณรงค์เฉลิมพระเกียรติ80 พรรษา มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รณรงค์ร่วมหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ประกวด 10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี ประเมินผล รายงานการบริการ การสำรวจจังหวัด

17 เฝ้าระวังปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค
สำรวจปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำประปาชุมชน 10จังหวัด อุตรดิตถ์ ลำปาง สระบุรี อยุธยา นครปฐม เพชรบุรี สมุทรสาคร ระนอง พังงา สงขลา พัฒนาศักยภาพภาคีการจัดการแก้ปัญหา F สูง ประชุมปฏิบัติการ เดือน มิถุนายน 2550 ติดตามแก้ไขปัญหาฟันตกกระ ไม้แก่น ท้ายเหมือง ท่าฉาง บางเลน เถิน อ.เมืองอุตรดิตถ์

18 สำรวจปริมาณ F ในน้ำบรรจุขวดร่วมกับอย.
ตรวจวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ ควบคุมคุณภาพแปรงสีฟันมาตรฐาน “แปรงติดดาว” (ร่วมมือกับเครือข่ายอย./สคบ./สมก/กรมวิทย์/บริษัทผู้ผลิต/องค์กรวิชาชีพ) บุหรี่ : ทดสอบรูปแบบการให้บริการเลิกบุหรี่ในรพ.ส่งเสริมฯ

19 การสำรวจเพื่อประเมินผลและรายงาน
เด็กอายุ 3 ปี/นร.ประถมอายุ12 ปี/ผู้สูงอายุ ปี งบดำเนินการของพื้นที่ จังหวัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ & ประมวลผล คู่มือการสำรวจ แบบรายงาน ท.01 / ท.02 กองวิเคราะห์/รายงานสถานการณ์ระดับประเทศ

20 การสำรวจประจำปีของจังหวัด เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน
ส่งรายงาน ท.01/ท.02 เดือน กรกฏาคม

21 ส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน
ประกวดโรงเรียน ส่งรายชื่อรร.ชนะประกวด ให้กองภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2550 เมนูขนมอ่อนหวาน ประกวดภายในมิถุนายน ไม่จำกัดเมนูยกเว้นของทอด อยากให้เป็นขนมพื้นบ้าน

22 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ มหกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จัดเดือนสิงหาคม: นิทรรศการ /นำเสนอผลงาน ขอเชิญชวนส่งผลงานเพื่อนำเสนอในมหกรรม รายละเอียดจะนำขึ้น Web ฟันเทียมฯ

23 เฝ้าระวังปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบริโภค
10 จังหวัดพื้นที่เสี่ยงสูงส่งน้ำตรวจ ภายในเดือน กค. 2550 พัฒนาภาคีเครือข่ายเดือนมิ.ย. 80 คน ดูรายละเอียดได้ที่ web กองทันตฯ จังหวัดแจ้งพื้นที่ที่พบสภาวะฟันตกกระ ให้กองทันตฯเพื่อร่วมแก้ปัญหา

24 “คนไทยมีสุขภาพช่องปากที่เอื้อต่อการมี
คุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมอย่างปกติสุข ทุกช่วงวัยของชีวิต”

25 ขอความร่วมมือตอบแบบสอบถาม
เขียนชื่อและส่งคืนเพื่อจับสลากชิงรางวัลใหญ่ !!! ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google