งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางและขั้นตอนการนำส่งเอกสารผลงานวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางและขั้นตอนการนำส่งเอกสารผลงานวิชาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางและขั้นตอนการนำส่งเอกสารผลงานวิชาการ
นายวันชนะ ปิ่นแก้ว นายสัตวแพทย์ชำนาญการ กลุ่มแบคทีเรียและเชื้อรา สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ

2 เนื้อหา สรุปหลักเกณฑ์และขั้นตอนดำเนินการในการพิจารณาโครงการวิจัยและ ผลงานวิชาการ ขั้นตอนการอนุมัติแบบเสนอโครงการวิชาการและการขอเลขทะเบียน ผลงานวิชาการการ ข้อผิดพลาดที่มักพบได้บ่อยและแนวทางแก้ไข ทดสอบความรู้

3 สรุปหลักเกณฑ์และขั้นตอนดำเนินการในการพิจารณาโครงการวิจัยและผลงานวิชาการ
หลักเกณฑ์และกำหนดเวลาพิจารณา การแก้ไขผลงาน

4

5

6 โครงการวิจัย 1. แบบเสนอโครงการวิจัย/ แผนงานวิจัย ใช้แบบฟอร์มของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จัดส่งเป็นเอกสารจำนวน 14 ชุด พร้อมทั้งแผ่นซีดีบันทึกข้อมูล (National Research Management System : NRMS 2. ผลงานวิจัยเพื่อปิดโครงการ จัดส่งเป็นเอกสารจำนวน 14 ชุด พร้อมทั้งแผ่นซีดีบันทึกข้อมูล 3. แบบเสนอโครงการวิจัยที่ขอรับทุนแหล่งอื่น ไม่ว่าจะเป็นผู้รับผิดชอบหลักหรือผู้ร่วมงาน ต้องส่งข้อเสนอโครงการตามขั้นตอนที่กำหนดเช่นเดียวกัน เพื่อให้กรมฯ รับทราบและอนุมัติ

7 งานวิชาการ 1. แบบเสนองานวิชาการ (concept paper) ใช้แบบฟอร์มของกลุ่ม พัฒนาวิชาการปศุสัตว์ ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 จัดส่งเป็นเอกสาร 14 ชุด 2. ผลงานวิชาการ จัดทำตามรูปแบบ ความยาวไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 จัดส่งเป็นเอกสารจำนวน 14 ชุด พร้อมทั้งแผ่นซีดีบันทึกข้อมูล 3. การเสนอผลสำเร็จของงาน เช่น สิ่งประดิษฐ์, ซอฟต์แวร์, คู่มือทางวิชาการ, ตำรา ฯลฯ ให้จัดทำ concept paper และรายงานผลงานย่อกำกับ เช่นเดียวกัน 4. การเสนอชื่อเรื่องผลงานเพื่อขอปรับระดับ จะต้องเป็น concept paper ที่ผ่านการพิจารณาจาก กวช. ผู้ที่ต้องการส่งผลงานวิชาการเพื่อปรับระดับ โปรดนำส่ง กวช. ก่อน อวช. เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจตามมาภายหลัง!!!

8 เนื้อหาทั้งหมดไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 บทความควรมีการวางแผนให้มีสัดส่วนตอนที่สมดุล เช่น
บทคัดย่อและ Abstract 2 หน้า บทนำและวิธีการ ไม่เกิน 1.5 หน้า ผลและวิจารณ์ไม่เกิน 4.5 หน้า สรุปและข้อเสนอแนะไม่เกิน 1 หน้า และเอกสารอ้างอิงไม่เกิน 1 หน้า

9 เจ้าของผลงาน 14 ชุด นำส่ง เลขา กวช. 1 แผ่น 1 แผ่น

10 หลักเกณฑ์และกำหนดเวลาพิจารณา
1. กวช.จะพิจารณาโครงการ/งาน ตามลำดับเลขที่ ตามวันเวลาที่เอกสารมาถึงอย่าง ครบถ้วน กรณีเรื่องที่นำส่งมาด้วยกันจะเรียงลำดับตามระบุในหนังสือนำส่ง โดยฝ่าย เลขาฯ จะเป็นผู้ลงลำดับ รวบรวมและบรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุม 2. กวช.จะประชุมเพื่อพิจารณาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3. กวช.ไม่รับพิจารณางานที่ผิดไปจากรูปแบบที่กำหนด มีคำผิด ไม่เรียบร้อยครบถ้วน โดยฝ่ายเลขาฯ จะไม่นับลำดับรับเรื่อง และส่งคืนเจ้าของผลงาน 4. กวช.จะพิจารณาผลงานโดยตรวจสอบความถูกต้องเนื้อหาตามหลักวิชาการ หาก เนื้อหาเป็นประเด็นอ่อนไหว กวช.จะหารือคณะอนุกรรมการวิจัยการปศุสัตว์ด้าน สุขภาพสัตว์เพื่อหาข้อสรุปต่อไป 5. กวช.จะพิจารณาส่งผลงานให้ผู้ทรงคุณวุฒิให้ช่วยพิจารณาให้ข้อคิดเห็น หาก เห็นสมควร

11 การแก้ไขผลงาน 1. เจ้าของผลงานต้องส่งเอกสารฉบับแก้ไขตามมติกวช. มายังฝ่ายเลขาฯ ภายในไม่ เกิน 20 วันทำการนับจากวันที่ได้รับทราบมติ ในกรณีที่มีความเห็นต่าง เจ้าของผลงาน สามารถโต้แย้งเป็นเอกสาร หากไม่สามารถส่งได้ตามกำหนด ผลงานดังกล่าวจะถูก จัดลำดับเป็นผลงานที่ยื่นขอพิจารณาใหม่ 2. ผลงานที่มีมติให้แก้ไขจะบรรจุเป็นวาระแรกในการประชุม ยกเว้นแต่ผลงานที่มีข้อ แก้ไขมากแห่ง กวช.อาจให้เจ้าของผลงานส่งเรื่องพร้อมสำเนาจำนวน 14 ชุด หลัง แก้ไขให้ตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง 3. ผลงานที่ได้รับการนำเข้าในที่ประชุม 3 ครั้งแล้ว แต่เจ้าของผลงานไม่สามารถแก้ไข หรือแจ้งความเห็นแย้งกวช.จะถือว่าผลงานนั้นไม่ผ่านการพิจารณา 4. ในวันที่มีการประชุม เจ้าของผลงานสามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือตอบข้อซักถาม ต่อ กวช.ด้วยตนเองโดยประสานฝ่ายเลขาฯ ล่วงหน้า 5. เจ้าของผลงานติดตามผลการพิจารณากับฝ่ายเลขาฯ ได้ทั้งทาง หรือโทรศัพท์ หรือ เว็บเพจ

12

13 สรุปขั้นตอนการพิจารณาโครงการวิจัยและผลงานวิชาการ
1 แบบเสนอโครงการวิชาการ/วิจัย เลขา กวช. เจ้าของผลงาน มีการร่วมมือกับบุคคลภายนอกองค์กร แสดงหลักฐานว่าได้รับอนุมัติแบบเสนอฯ เห็นสมควรทำได้ คณะทำงานขับเคลื่อน นโยบายวิจัย 2 ผลงานวิชาการ/วิจัย ไม่ผ่าน

14 สรุปขั้นตอนการพิจารณาโครงการวิจัยและผลงานวิชาการ
แจ้งผลการพิจารณา เลขาฯ กวช. ตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบเอกสาร ทำหนังสือขออนุมัติฯ/ขอเลขทะเบียนฯ ติดตามผล กลับไปแก้ไขให้ถูกต้อง นำส่ง เจ้าของผลงาน เอกสาร 14 ชุด CD 1 แผ่น แบบฟอร์มนำส่งฯ หากผ่านการพิจารณา เลขา กวช.จะดำเนินการต่อไป นำเข้าที่ประชุม กวช. แจ้งข้อแก้ไขแก่เจ้าของผลงาน ให้แก้ไขภายใน 20 วันทำการ แก้ไขในประเด็นสำคัญไม่เกิน 3 ครั้ง ประชุมทุกสัปดาห์ ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน ให้ข้อคิดเห็น คณะกรรมการ กวช. (14 ท่าน)

15 ขั้นตอนการอนุมัติ แบบเสนอโครงการวิชาการและการขอเลขทะเบียนผลงานวิชาการ

16 การขออนุมัติแบบเสนอโครงการวิชาการ
มีประเด็นอ่อนไหว คณะอนุกรรมการวิจัยการปศุสัตว์ด้านสุขภาพสัตว์ ผ่าน เลขที่รับ เจ้าของผลงาน กลุ่มพัฒนาวิชาการปศุสัตว์ (กวป.) ผลการพิจารณาจาก กวช. - concept paper 2 ชุด - แผ่นซีดี นำส่ง ผอ. สสช. และ ประธาน กวช. ลงนาม ไม่ผ่าน ทำหนังสือขออนุมัติแบบเสนอโครงการวิชาการ

17 การขอเลขทะเบียนผลงานวิชาการ
มีประเด็นอ่อนไหว คณะอนุกรรมการวิจัยการปศุสัตว์ด้านสุขภาพสัตว์ ผ่าน เลขทะเบียนวิชาการ เจ้าของผลงาน กลุ่มพัฒนาวิชาการปศุสัตว์ (กวป.) ผลการพิจารณาจาก กวช. นำส่ง - ผลงานวิชาการ 2 ชุด - แผ่นซีดี ผอ. สสช. และ ประธาน กวช. ลงนาม ไม่ผ่าน ทำหนังสือขอเลขทะเบียนผลงานวิชาการ

18 ข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อยและการแก้ไข

19 รูปแบบการจัดหน้ากระดาษ
ตั้งค่าหน้ากระดาษ บน (top) 0.8” (2 ซม.),ล่าง (bottom) 0.8”,ซ้าย (left) 1.25” (3.125 ซม.) และขวา (right) 0.8” หัวเรื่องหลัก เช่น บทคัดย่อ คำนำฯลฯ ใช้ตัวพิมพ์TH SarabunPSK 16 พอยท์ ตัวหนา จัดกึ่งกลาง หัวเรื่องย่อย (ถ้ามี) เช่น กลุ่มตัวอย่าง ฯลฯ ใช้ตัวพิมพ์TH SarabunPSK 15 พอยท์ ตัวหนา จัดชิดซ้าย เนื้อความ ใช้ตัวพิมพ์TH SarabunPSK 16 พอยท์ ปกติ จัดเสมอหน้า หรือ จัดเสมอหน้า หลัง และ ย่อหน้า 2 ซม. ระยะระหว่างบรรทัด (spacing) ตั้งค่าเป็น เดี่ยว (single) ใส่เลขหน้า ในตัวอย่างแม่แบบนี้ใส่เลขหน้าหัวกระดาษอัตโนมัติไว้แล้ว พิมพ์เนื้อหาต่อเนื่องไปได้เลย (ฟังก์ชัน INSERT Page Number) ถ้าต้องการเลขบรรทัด ตั้งค่าให้แสดงเลขบรรทัด (ฟังก์ชัน PAGE LAYOUT – Line Numbers)

20 (1) (2) -(3) (1) (2)

21 การอ้างอิง (1) (2) (3) ใช้รูปแบบตามวารสารที่จะไปตีพิมพ์ หรือใช้APA
(American Psychological Association) style (1) (2) (3)

22 ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อเฉพาะต่างๆ
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) Write Coxiella burnetii the first time you refer to the microbe in your report, article, or story Everywhere else in the same report, article, or story use the abbreviated form: C. burnetii ยกเว้นใน ไวรัส Ebola virus (species Zaire ebolavirus; genus Ebolavirus;family Filoviridae;  order Mononegavirales) can cause disease in humans and nonhuman primates.

23 ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อเฉพาะต่างๆ
การพิมพ์ข้อความอังกฤษ ให้ใช้ตัวพิมพ์เล็ก ไม่ว่าจะอยู่นอกหรือในวงเล็บ ยกเว้นคำเฉพาะ ชื่อยีน (gene) ให้ใช้ตัวเอียง เช่น 16s rRNA ไพร์เมอร์ให้ระบุแหล่งอ้างอิงพร้อมระบุทิศทางของสายไพร์เมอร์ เช่น 5’ -AATTGGCCCTTTAA-3’ (Ashley et al., 2010) สารเคมี ชีวสาร ต่างๆที่มีผลิตในท้องตลาดให้อ้างอิงถึงบริษัทและประเทศที่ผลิต เช่น Rabisin®(Virback,USA) ซอฟแวร์ที่เป็น Freeware ควรมีการอ้างอิงเช่น Mega7(

24 ขอขอบพระคุณสำหรับการรับชม

25 Quiz

26

27


ดาวน์โหลด ppt แนวทางและขั้นตอนการนำส่งเอกสารผลงานวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google