ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวรภัทร สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
กรมอนามัย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 16 พฤศจิกายน 2553 1
2
ร่างยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ KPI 1.อัตราป่วยด้วย อหิวาตกโรค/อุจจาระร่วงเฉียบพลับ/อาหารเป็นพิษ/ลดลง ไม่เกินค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 2.อัตราป่วยด้วยโรคจากพฤติกรรมการบริโภคลดลง 3.พื้นที่ที่มีอัตราของหญิงตั้งครรภ์มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 ไมโครกรัม/ลิตร ไม่เกินร้อยละ 50 4.ระดับเชาว์ปัญญาของเยาวชนเป็นไปตามค่ามาตรฐานที่กำหนด นโยบายและเป้าประสงค์ (Ultimate Goal) ภาระโรคจากอาหารและโภชนาการลดลง
3
ร่างยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายและวัตถุประสงค์ระยะ 3 ปี “อาหารที่จำหน่ายในท้องตลาดมีความปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ” KPI 1.ร้อยละของอาหารที่วางจำหน่ายในท้องตลาดมีความปลอดภัยตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.1 อาหารที่บริโภคประจำวันปลอดภัยจากสารเคมีทางการเกษตร ยาปฏิชีวนะ จุลินทรีย์ และสารอันตรายอื่น 1.2 อาหารปรุงและน้ำดื่มที่จำหน่ายในร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ตลาด รถเข็น แผงลอย หาบเร่ รวมทั้งผู้สัมผัสอาหาร ต้องผ่านมาตรฐานด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยด้านอาหารตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยกฎหมาย 1.3 อาหารแปรรูป ภาชนะ/วัสดุสัมผัสอาหาร ที่ผลิตและนำเข้าฯต้องผ่านเกณฑ์ที่กำหนดโดยกฎหมาย 2.ร้อยละของอาหารตามประเภทที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด มีการผลิตที่เอื้อต่อสุขภาพและเสริมคุณค่าทางโภชนาการ วางจำหน่ายในท้องตลาดตามระยะเวลาที่ประกาศ (อาหารสูตรลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม อาหารสูตรผสมไอโอดีน) 3.ความครอบคลุมของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพมากกว่า ร้อยละ 90
4
ร่างยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมการจัดการความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ และการสื่อสารสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้าง และระบบงานด้านความปลอดภัยอาหาร และโภชนาการของภาครัฐและท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนามาตรฐาน ข้อกำหนด กฎหมายด้านความปลอดภัยอาหารและ โภชนาการให้ครอบคลุม ทันสมัยและเป็นสากล ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริม สนับสนุนให้ อปท.มีขีดความสามารถ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาห้องปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาและเชื่อมโยงข้อมูล
5
การดำเนินงานต่อไป 1.พิจารณาให้ความเห็นร่างยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข 2.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณากลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ งบประมาณ กำหนดผู้รับผิดชอบ 3.รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นำเสนอขอความเห็นชอบจากที่ประชุมกระทรวงสาธารณสุข และนำเสนอคณะรัฐมนตรี 4.ประกาศแผนยุทธศาสตร์ด้านความปลอดภัยอาหารและโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ
6
ผลการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ปี 2553
7
โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย
โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย เป้าหมาย : ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ร้อยละ 80 ผลงาน : ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน CFGT % จำนวน ร้าน และแผงลอยทั้งหมด 139,642 แห่ง - ได้มาตรฐาน CFGT แห่ง ผลการสุ่มประเมิน : ดำเนินการสุ่มประเมิน ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน CFGT % ร้าน และแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT ที่ผ่านการประเมิน %
8
โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย
โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย การรับรองคุณภาพ อย่างยั่งยืน เป้าหมาย : ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ร้อยละ 80 ผลงาน : ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน CFGT % จำนวน ร้าน และแผงลอยทั้งหมด 139,642 แห่ง - ได้มาตรฐาน CFGT แห่ง การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหาร ของ อปท. ผลการสุ่มประเมิน : ดำเนินการสุ่มประเมิน ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน CFGT % ร้าน และแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT ที่ผ่านการประเมิน % การพัฒนาศักยภาพประชาชน ผู้บริโภค การส่วนร่วมของชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร
9
โครงการตลาดสด น่าซื้อ
เป้าหมาย : ปรับปรุง ยกระดับ ตลาดสด ประเภทที่ 1 ให้ได้มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน: (ไม่รวม กทม.) ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดประเภทที่ 1 ทั่วประเทศ 1,384 แห่ง - ได้มาตรฐาน 1,169 แห่ง ผลการดำเนินงาน: (รวม กทม.) ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดประเภทที่ 1 ทั่วประเทศ 1,534 แห่ง - ได้มาตรฐาน 1,215 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ แห่ง เขต แห่ง 1 7 5 20 9 10 2 6 32 53 3 27 15 11 16 4 8 12 กทม. 104 ผลการสุ่มประเมิน : ดำเนินการสุ่มประเมิน ตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดสดน่าซื้อที่ผ่านการประเมิน %
10
โครงการตลาดสด น่าซื้อ
เป้าหมาย : ปรับปรุง ยกระดับ ตลาดสด ประเภทที่ 1 ให้ได้มาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 นโยบาย ภายใน มกราคม 2554 ต้องพัฒนาตลาดประเภทที่ 1 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง ผลการดำเนินงาน: (ไม่รวม กทม.) ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดประเภทที่ 1 ทั่วประเทศ 1,384 แห่ง - ได้มาตรฐาน 1,169 แห่ง ผลการดำเนินงาน: (รวม กทม.) ตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดประเภทที่ 1 ทั่วประเทศ 1,534 แห่ง - ได้มาตรฐาน 1,215 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ แห่ง เขต แห่ง 1 7 5 20 9 10 2 6 32 53 3 27 15 11 16 4 8 12 กทม. 104 ผลการสุ่มประเมิน : ดำเนินการสุ่มประเมิน ตลาดสดน่าซื้อ % ตลาดสดน่าซื้อที่ผ่านการประเมิน %
11
น้ำประปาดื่มได้ เป้าหมาย : พัฒนาระบบประปาให้ผ่านเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ แห่ง (ประปาเทศบาล /ประปาหมู่บ้าน) ศูนย์อนามัยที่ เป้าหมาย ผลงาน 1 30 5 2 45 16 3 10 4 40 9 65 6 75 ศูนย์อนามัยที่ เป้าหมาย ผลงาน 7 21 8 16 14 9 20 1 10 11 25 12 30 2 รวม 387 50
12
โครงการพัฒนามาตรฐานระบบการรับรองสถานประกอบการ
(ด้านสุขาภิบาลอาหาร) ปี เป้าหมาย : องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 4 แห่ง ผลการดำเนินงาน : อปท. มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 5 แห่ง เทศบาลนครตรัง เทศบาลเมืองกันตัง เทศบาลตำบลนาโยงเหนือ เทศบาลตำบลห้วยยอด อบต.ไม้ฝาด ปัญหาอุปสรรค: - ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการดำเนินงาน - อปท.ไม่ได้ตั้งงบประมาณปี ไว้ - จนท. อปท.ไม่เพียงพอ
13
โครงการพัฒนาหลักสูตรความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สำหรับเจ้าหน้าที่ ผลการดำเนินงาน: ประชุมคณะทำงาน และจัดทำหลักสูตร - หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและน้ำสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน - หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารและน้ำสำหรับผู้ตรวจสอบสุขาภิบาลอาหาร (Food Sanitation Inspector : FSI)
14
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร
ปี 2554
15
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ WHO กำหนด 17 เรื่อง
นโยบายอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Policy) การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health Management) คุณภาพความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Quality & Safety) การป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ (Accidents & Injury Prevention) การสุขาภิบาล (Sanitation) คุณภาพน้ำบริโภค (Drinking Water Quality) การจัดการของเสียและมลพิษทางดิน (Waste Management & Soil Pollution) การควบคุมมลพิษทางเสียง (Noise Control) การอาชีวอนามัย (Occupational Health) การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค (Vector Control) คุณภาพอากาศ (Air Quality) รังสีที่แตกตัว และ รังสีที่ไม่แตกตัว (Ionizing & Non-ionizing Radiation) การวางแผนการใช้ที่ดิน (Land-use Planning) การจัดการด้านการขนส่ง (Transport Management) การท่องเที่ยว & การพักผ่อนหย่อนใจ (Tourism & Recreational Activities) นิเวศวิทยาและการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Human Ecology and Settlements) พลังงาน (Energy)
16
แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (NEPAP)
ฉบับที่ 1 พ.ศ TWG 1 : คุณภาพอากาศ TWG 2 : น้ำ สุขอนามัย และการสุขาภิบาล TWG 3 : ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย TWG 4 : สารเคมีเป็นพิษ และสารอันตราย TWG 5 : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ TWG 6 : ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม TWG 7 : HIA
17
ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2553- 2556
ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมจากมลพิษและปัญหาอุบัติใหม่ - การจัดการเหตุรำคาญและกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ - การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ การพัฒนางานสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน - การจัดการสิงปฏิกูล - การจัดการมูลฝอยทั่วไป ติดเชื้อ ขยะพิษ - การสุขาภิบาลอาหาร - การควบคุมคุณภาพน้ำบริโภค การพัฒนาพฤติกรรมอนามัย - การสร้างสุขนิสัย รักษ์สะอาด
18
Thailand Environmental Health
Traditional Functions Modern Functions ระดับพื้นฐาน การควบคุมน้ำบริโภค การสุขาภิบาลอาหาร การจัดการสิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอย การบังคับใช้กฎหมาย ระดับกลาง การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ การจัดการเหตุรำคาญ การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ระดับก้าวหน้า การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ การจัดการมูลฝอยอันตราย การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ Thailand Environmental Health Service Standard
19
ระดับก้าวหน้า ระดับกลาง ระดับพื้นฐาน
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับก้าวหน้า ระดับกลาง 1.ระบบการรับรอง สปก ตาม พรบ. สธ. 2535 (ร้าน / แผง / ตลาดประเภท 1) 2. ระบบการพัฒนาศักยภาพ ผู้สัมผัสอาหาร 3.ระบบการสื่อสารสาธารณะ ด้าน สุขาภิบาลอาหาร 4.ระบบการแก้ไขปัญหา/ ข้อร้องเรียนจาก สปก. ด้านอาหาร 5. ระบบการเฝ้าระวังด้าน สุขาภิบาลอาหาร 1.ระบบการรับรอง สปก ตาม พรบ. สธ. 2535 (ร้าน / แผง / ตลาดประเภท 1) 2.ระบบการพัฒนาศักยภาพ ผู้สัมผัสอาหาร 3.ระบบการสื่อสารสาธารณะ ด้าน สุขาภิบาลอาหาร 4.ระบบการแก้ไขปัญหา/ ข้อร้องเรียนจาก สปก. ด้านอาหาร ระดับพื้นฐาน 1.ระบบการรับรอง สปก ตาม พรบ. สธ. 2535 (ร้าน / แผง / ตลาดประเภท1) 2.ระบบการพัฒนาศักยภาพ ผู้สัมผัสอาหาร
20
ระดับก้าวหน้า ระดับกลาง ระดับพื้นฐาน
ระบบการจัดบริการน้ำบริโภค ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับก้าวหน้า ระดับกลาง 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพ น้ำประปาได้ตามเกณฑ์ มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 2.ระบบการพัฒนาคุณภาพ น้ำบริโภค ประเภทต่างๆ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน น้ำบริโภคกรมอนามัย 3. ระบบการเฝ้าระวังคุณภาพ น้ำบริโภคในพื้นที่เสี่ยง 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพ น้ำประปาได้ตามเกณฑ์ มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 2.ระบบการพัฒนาคุณภาพ น้ำบริโภค ประเภทต่างๆ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน น้ำบริโภคกรมอนามัย ระดับพื้นฐาน 1. ระบบการพัฒนาคุณภาพ น้ำประปาได้ตามเกณฑ์ มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้
21
ความสำคัญการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค
เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) เป้าหมายที่ รักษาและจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เป้าหมาย MDG ลดสัดส่วนประชากรที่ไม่สามารถเข้าถึง แหล่งน้ำสะอาด ลงครึ่งหนึ่ง ภายในปี (เขตเมือง และชนบท) เป้าหมาย MDG plus สัดส่วนประชากรที่ดื่มน้ำที่มีคุณภาพ (เขตเมือง และชนบท)
22
ประเด็นยุทธศาสตร์ : ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
Goal : เพื่อให้ประชาชนบริโภคอาหารและน้ำที่ปลอดภัย output : 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2. ผู้ผลิตน้ำประปาผลิตน้ำประปาที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานน้ำประปา ดื่มได้ 3. ประชาชนมีความรู้ในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเข้าถึงการจัดบริการ อาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย outcome : 1. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการที่ได้ มาตรฐาน 2. ประชาชนเข้าถึงน้ำบริโภคที่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 3. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง 22
23
ประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ปี พ.ศ ประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ระดับประชาชน 1.ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำที่ถูกต้อง และมีส่วนร่วมในการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2.อปท.ควบคุมสถานประกอบการให้ได้ตาม พรบ.สาธารณสุข S1 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ อปท. S2 พัฒนาการรับรองผู้สัมผัสอาหาร S3 พัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 3.หน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชน ภาคเอกชน ประชาสังคมให้การร่วมพัฒนาและสนับสนุน S1 พัฒนาความสัมพันธ์ S2 พัฒนาศักยภาพ 4.ชมรมผู้ประกอบการ/สมาคม/ ผู้ผลิตน้ำประปา มีส่วนร่วมในการพัฒนา S1 พัฒนาศักยภาพ(แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงานฯ) ระดับภาคี 5.มีระบบการพัฒนามาตรฐานวิชาการและกฎหมาย S1 พัฒนามาตรฐานระบบงาน S2 พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 6.มีระบบพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย S1 พัฒนาระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ 7.มีระบบการเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ S1 สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโดยชุมชน S2 พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง 8.มีกลไกในการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ภาคี (CRM) S1 จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย S2 รณรงค์สร้างกระแส 9.มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล S1 พัฒนาระบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ระดับกระบวนการ 10.จนท.มีความรู้ทักษะในการดำเนินงาน S1 พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง 11.มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ S1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง 12.มีโครงสร้างองค์กรสอดคล้องกับงาน S1 ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ ระดับพื้นฐาน 23
24
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร
กรมอนามัย ปี 2554 1.ตัวชี้วัด กพร. การดำเนินงานอาหารปลอดภัย ระดับจังหวัด พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ - ระดับที่ 1 จังหวัดจัดทำแผนปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหารของจังหวัด จัดส่งแผนให้ สธ. ภายใน 31 มค. 54 - ระดับที่ 2 ดำเนินการตามแผน - ระดับที่ 3 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ผ่านเกณฑ์ 90% CFGT 80 % ตลาดสดน่าซื้อ 80% - ระดับที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานเกี่ยวกับแหล่งที่มาของอาหารไม่ปลอดภัย - ระดับที่ 5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ส่งรายงานให้ สธ. ภายใน 31 ตค. 54
25
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร
กรมอนามัย ปี 2554 2. ตัวชี้วัด กพร. กระทรวงสาธารณสุข 1.1.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับกระทรวง กำหนดเป็น ระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย ในระดับที่ 4 - ประเมินกระบวนการตรวจรับรองตลาดสดน่าซื้อและ ร้านอาหารแผงลอยที่ได้มาตรฐาน CFGT ของจังหวัด 1.มีแผนปฏิบัติการ การสนับสนุนและติดตามการดำเนินงาน 2.มีผลการประเมินกระบวนการฯ (แบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์) 3.มีผลการสุ่มประเมิน CFGT 10% ตลาดสดน่าซื้อ 30% อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด 4.มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ มีข้อมูลผลการดำเนินงาน CFGT ตลาดสดน่าซื้อ ปี 2554 รายจังหวัด ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ
26
(ร่าง) ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร
กรมอนามัย ปี 2554 3. ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 1. CFGT ร้อยละ 80 2. ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 3. อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน เข้าร่วม 12 แห่ง มีผลสำเร็จ 6 แห่ง 4. อปท.มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน 5. ระบบประปาได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ (ประปาส่วนภูมิภาค /ประปาเทศบาล /ประปาหมู่บ้าน) เข้าร่วม 100 แห่ง มีผลสำเร็จ แห่ง
27
นโยบายการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ กรมอนามัย ปี 2554
นโยบายการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ กรมอนามัย ปี 2554 1.การพัฒนาตลาดสดประเภทที่ 1 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.การเฝ้าระวังความปลอดภัยอาหารที่จำหน่ายในตลาดนัด 3.การประกวดสุดยอดร้านอาหาร 4.การรับรองผู้สัมผัสอาหาร 5.การพัฒนาคุณภาพน้ำประปาในระบบประปาเทศบาลและประปาหมู่บ้าน 6.การดำเนินงานความปอดภัยด้านอาหารในตลาดค้าส่ง (ดำเนินการร่วมกับกรมวิทย์ฯ อย. ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร)
28
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารกรมอนามัย ปี 2554 1.การพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร 2.การพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค 3.การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร และน้ำ 4.การพัฒนาศักภาพภาคีเครือข่าย
29
R & D M & E M & E Organization Development
Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development R & D M & E Healthy People Thailand Consumer Protection Knowledge Provider Support Management Information Funder Alliance Surveillances M & E Human Resource Development
30
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.