งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาวปัณยตา หมื่นศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาวปัณยตา หมื่นศรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ นางสาวปัณยตา หมื่นศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

2 International Language
ปัญหาการวิจัย International Language Solve problems Share knowledge Success achievement Source / Data Reading หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 Collaborative Learning Facebook Achievement

3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับปวช.ชั้นปีที่ 1 สาขางานธุรกิจค้าปลีก ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อหาระดับเจตคติที่มีต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 สาขางานธุรกิจค้าปลีก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1 บทเรียนและแบบทดสอบ ที่สร้างขึ้นในเฟซบุ๊ก

5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน

6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3 แบบสอบถามเพื่อวัดเจตคติที่มีต่อ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

8 ขั้นเตรียม สำรวจและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน
วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม สำรวจและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน - อธิบายขั้นตอน การเข้าใช้หน้า fanpage - การเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม - การตอบคำถาม แบบทดสอบรายบทในห้องกลุ่ม ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนขั้นอธิบาย

9 วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ)
2. ขั้นใช้ มีทั้งหมด 8 สัปดาห์ สัปดาห์ที่ 1 - นักเรียนรายบุคคลรับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนเรียน

10 วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ)
สัปดาห์ที่ 2 – 7 - กำหนดผู้เรียนในแต่ละกลุ่มๆละ 3 คน ร่วมกัน ศึกษาเรียนรู้เนื้อหาในแต่ละบทเรียน จากนั้นร่วมกันทำ แบบทดสอบจากหน้าfanpageในเฟซบุ๊ก - ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งเป็นการศึกษาเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละบทเรียนและ แบบทดสอบ

11

12 วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ)
สัปดาห์ที่ 2 – 7 (ต่อ) - ผู้วิจัยตรวจแบบทดสอบแต่ละบทเรียนของแต่ละกลุ่ม ส่งคะแนนที่แต่ละกลุ่มทำได้ (เกณฑ์ผ่านร้อยละ 60) - ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งเป็นการศึกษาเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละบทเรียนและ แบบทดสอบ

13

14 วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ)
สัปดาห์ที่ 8 - นักเรียนรายบุคคลรับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหลังเรียน - นักเรียนรายบุคคลทำแบบสอบถามเพื่อวัดเจตคติที่มีต่อ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

15 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติในการวิเคราะห์หาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ค่า Paired t-test เป็นสถิติทดสอบสมมุติฐาน

16 ผลการวิจัย การทดสอบ n Mean S.D. t Sig ก่อนเรียน 30 5.97 2.51 8.03
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วย การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง การทดสอบ n Mean S.D. t Sig ก่อนเรียน 30 5.97 2.51 8.03 0.000* หลังเรียน 22.00 2.73

17 ผลการวิจัย สรุปผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
โดยใช้เฟซบุ๊กของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง รายการพฤติกรรม ค่าเฉลี่ย ระดับ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.57 มากที่สุด การมีปฏิสัมพันธ์ 3.58 มีการสร้างความรู้ใหม่ 3.43 มาก มีการเรียนรู้และปรับการทำงาน 3.42 ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3.52 ค่าเฉลี่ยโดยรวม 3.50

18 ผลการวิจัย ตารางที่ 5 เปรียบเทียบคะแนนร้อยละการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจกับผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊กของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 กลุ่ม

19 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้
1. การออกแบบและสร้างfanpageในเฟซบุ๊ก ควรมีการศึกษาหรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับผู้เรียนมากที่สุด 2. การพัฒนาบทเรียน แบบทดสอบ หน้า fanpage ในเฟซบุ๊ก ต้องมีการเขียนแผนผังในการเข้าใช้งานในหน้าfanpageในเฟซบุ๊ก การเปิดห้องกลุ่ม การเพิ่มสมาชิกกลุ่มในเฟซบุ๊ก เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าใช้งาน นอกจากนี้ยังต้องเตรียมทรัพยากรทางเทคโนโลยี มัลติมีเดียด้านต่างๆ ให้พร้อม เช่น เนื้อหา ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น 3. ผู้เรียนที่เข้าใช้หน้าfanpage ในเฟซบุ๊ก จะต้องได้รับคำแนะนำการใช้ เป็นรายกลุ่มอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้

20 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt นางสาวปัณยตา หมื่นศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google