งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ในระบบหลักประกันสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ในระบบหลักประกันสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ในระบบหลักประกันสุขภาพ
สิทธิของประชาชน ในระบบหลักประกันสุขภาพ

2 สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ.
(มาตรา 5) เข้ารับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพตามที่ กำหนดโดย พ.ร.บ.นี้ ประเภท/ขอบเขตตาม คณะกรรมการกำหนด (มาตรา 6) เลือกหน่วยบริการประจำ / เปลี่ยนหน่วยบริการประจำได้ ตามขอบเขตที่กำหนด (มาตรา 7) รับบริการที่หน่วยบริการประจำ ยกเว้น...อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือเหตุสมควร สามารถเข้าที่สถานบริการอื่น นอกเหนือจากหน่วยบริการประจำได้ (มาตรา8) สิทธิว่าง ใช้สิทธิครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้

3 สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ.
ร้องเรียน เมื่อ..ได้รับบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้รับความสะดวก ตามสมควร ไม่ได้รับบริการตามสิทธิ ถูกเรียกเก็บเงิน (มาตรา 57,59 ) ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อ.. เกิดความเสียหายจากการเข้ารับบริการ (มาตรา 41)

4 ย้ายหน่วยบริการ กรณีย้ายที่อยู่
หน้าที่ของประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพ 3 1 2 4 ย้ายหน่วยบริการ กรณีย้ายที่อยู่ ใช้บริการตามขั้นตอนที่หน่วยบริการประจำ ปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ให้การรักษา ลงทะเบียนสิทธิ (ย้ายได้ 4 ครั้ง/ปี)

5 สิทธิประโยชน์ เพิ่มเติม คลอดบุตรไม่จำกัดจำนวนครั้ง
ตั้งแต่ 1 ต.ค.58

6

7 ในระบบหลักประกันสุขภาพ
April 22, 2019 การคุ้มครองสิทธิ ในระบบหลักประกันสุขภาพ

8 กรอบแนวคิดคุ้มครองสิทธิ
คุณภาพของระบบบริการ เป้าหมาย ผู้รับบริการพึงพอใจ ผู้ให้บริการมีความสุข

9 เป้าหมายการคุ้มครองสิทธิประชาชน ในระบบ UC UC
รับรู้สิทธิ : ในระบบหลักประกันสุขภาพ และสิทธิในการรับ บริการสาธารณสุขของตนเอง >> - ให้ความรู้ ให้ข้อมูล] เข้าถึงสิทธิ : สาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ >> - การจัดระบบบริการ เพิ่มการเข้าถึง ลดปัญหาอุปสรรค การพัฒนาระบบบริการ ได้รับการปกป้องคุ้มครองสิทธิ : ตามกฏหมาย - การควบคุมกำกับคุณภาพมาตรฐาน ลดป้องกันปัญหา การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดระบบ และกลไก การรับเรื่องร้องเรียน การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น ม.41 (ผู้รับบริการ) การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้ให้บริการ ได้รับความเสียหาย ม.18(4)

10 จาก 1330 Call Center 1330 การคุ้มครองสิทธิ จนท. Call center
พยาบาลวิชาชีพ

11 การเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมืองานคุ้มครองสิทธิ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สปสช.ส่วนกลาง ( call center 1330) สปสช.เขต 13 แห่ง ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนอิสระ 50(5) แห่ง สสจ แห่ง ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ รวม 782 แห่ง ระดับ รพศ./รพท.= แห่ง ระดับ รพช = แห่ง ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน 147 แห่ง ผู้ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ตำบล ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ระดับตำบล กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น / พื้นที่

12 งานคุ้มครองสิทธิ UC 1. งานรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบUC ตาม ม.57,59 2. การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการ ในกรณีที่ได้รับความเสียหายฯ ตาม ม.41 3. การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ให้บริการในกรณีที่ได้รับความเสียหายฯ ตาม ม.18(4)

13 1.งานรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบUC ตาม ม.57,59

14 มาตรา 57  ในกรณีที่สำนักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กำหนด ให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้จากหน่วยบริการหรือหน่วยบริการเรียกเก็บค่าบริการจากตนโดยไม่มีสิทธิที่จะเก็บหรือเรียกเก็บเกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการกำหนด หรือไม่ได้รับค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการภายในระยะเวลาอันสมควร ให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อสำนักงานเพื่อให้มีการสอบสวน และให้นำความในมาตรา 57 มาใช้บังคับโดยอนุโลม

15 1. เรื่องสอบถาม ?  เป็นเรื่องที่ประชาชนติดต่อสอบถามเพื่อขอทราบข้อมูล
หรือขอคำปรึกษาเกี่ยวกับระบบหลักประกันสุขภาพและโครงการอื่น ที่เกี่ยวข้อง เช่น  การลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ  สิทธิประโยชน์การรับบริการ  วิธีการใช้บริการตามสิทธิ  ตรวจสอบข้อมูลสิทธิ  สอบถามเกี่ยวกับสิทธิสวัสดิการอื่น  อื่นๆ

16 2. เรื่องร้องเรียน ?  เรื่องร้องเรียนในระบบหลักประกันสุขภาพ
ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 เกี่ยวกับคุณภาพบริการ จำแนกเป็น 4 ประเภท คือ 1. หน่วยบริการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน 2. ไม่ได้รับความสะดวกตามสมควร 3. ถูกเรียกเก็บค่าบริการโดยไม่มีสิทธิจะเรียกเก็บ 4. ไม่ได้รับบริการตามสิทธิที่กำหนด

17 3. เรื่องร้องทุกข์ ?  เรื่องร้องทุกข์ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั่วไป
เป็นเรื่องที่ประชาชนเดือดร้อน/ ขอความช่วยเหลืออื่นๆ ที่ไม่ใช่เรื่องร้องเรียน ตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ เช่น.... การลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ สิทธิไม่ตรงตามจริง (สิทธิซ้ำซ้อน) เรื่องอื่นๆ เช่น ขอความช่วยเหลือ ข้อเสนอแนะ

18 4. เรื่องการประสานส่งต่อผู้ป่วย
เป็นเรื่องการประสานหาเตียงให้กับผู้ป่วย ในระบบหลักประกันสุขภาพ  เพื่อให้สามารถใช้สิทธิในการรักษาได้ เช่น กรณีประสานเตียงให้กับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลเอกชนไม่เข้าร่วมโครงการ

19 เรื่องอื่นๆ เป็นเรื่องร้องเรียนจากผู้ใช้สิทธิสวัสดิการอื่นๆ
เช่น สิทธิข้าราชการ สิทธิประกันสังคม เป็นต้น

20 การจัดตั้งเครือข่ายงานคุ้มครองสิทธิ ในระบบหลักประกันสุขภาพ

21 ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ ในหน่วยบริการ (รพศ./รพท/รพช.)

22 นอกหน่วยบริการ

23 การจัดตั้งเครือข่ายงานคุ้มครองสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ
สปสช.เขต ภาคผู้ให้บริการ ภาคประชาชน รวม (แห่ง) ศูนย์ฯในรพ. (782 แห่ง) สสจ. หน่วยรับเรื่อง อิสระ ม. 50(5) ศูนย์ประสาน ภาคปชช. รพช. รพท./รพศ. 1 เชียงใหม่ 82 9 8 15 23 137 2 พิษณุโลก 39 7 5 3 6 60 3 นครสวรรค์ 42 65 4 สระบุรี 52 12 10 11 93 5 ราชบุรี 53 14 91 6 ระยอง 61 97 7 ขอนแก่น 46 4 69 8 อุดรธานี 71 2 100 9 นครราชสีมา 84 1 10อุบลราชธานี 35 59 11สุราษฎร์ธานี 89 12 สงขลา 63 95 13 กทม. - 20 รวมทั้งหมด 688 94 76 88 147 1,092

24 จำนวนร้อยละ เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ สปสช.เขต 3 นครสวรรค์
จำนวนร้อยละ เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ สปสช.เขต 3 นครสวรรค์ รายจังหวัด ปีงบประมาณ 2558

25 จำนวนเรื่องร้องเรียน สปสช.เขต 3 นครสวรรค์ จำแนกประเด็น รายจังหวัด
จำนวนเรื่องร้องเรียน สปสช.เขต 3 นครสวรรค์ จำแนกประเด็น รายจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2558

26 2.การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการ ตามมาตรา 41

27

28 หมอรักษาตามมาตรฐานแล้ว
ทำไมลูกเสียชีวิต ประชาชน ขาดข้อมูลที่เป็นจริง ยังไม่เชื่อมั่นต่อบริการปฐมภูมิ(หมายถึงPCU หรือสอ.) ขาดการรับรู้และมีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการบริการสุขภาพ ยกเว้น การดูแลตนเอง หรือซื้อยากินเอง แนวโน้มในอนาคต องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนจะรับผิดชอบต่อการวางนโยบาย การวางแผนด้านการบริการสุขภาพ และการควบคุมกำกับสถานบริการสุขภาพ

29 ม.๔๑ เยียวยา เงินช่วยเหลือเบื้องต้น
กรณีได้รับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล ไม่พิสูจน์ถูก-ผิด สมานฉันท์ ลดการเผชิญหน้า

30 การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการ
ในกรณีที่ได้รับความเสียหายฯ ตาม ม.41 1 มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจำนวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการ ไว้เป็น เงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทำผิดมิได้หรือหาผู้กระทำผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด 2 3

31 เพื่อเยียวยาตามประเภทของความเสียหาย ไม่ใช่การชดเชย
เจตนารมณ์ ม. 41 เป็นมาตรการทางศีลธรรม ไม่ต้องพิสูจน์ถูกผิด บรรเทาความเดือนร้อน เน้นความรวดเร็ว ลดความขัดแย้ง WIN - WIN แนวคิด เพื่อเยียวยาตามประเภทของความเสียหาย ไม่ใช่การชดเชย

32 คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องฯ พิจารณาตามหลักเกณฑ์
สถานที่ยื่นคำร้อง  หน่วยบริการ  หน่วยรับเรื่องร้องเรียนอิสระตามมาตรา ๕๐(๕)  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  สปสช./ หน่วยงานอื่นที่ สปสช.กำหนด คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องฯ พิจารณาตามหลักเกณฑ์

33 ขั้นตอน ผู้รับบริการ/ญาติ  ยื่นคำร้อง
สสจ. ตรวจสอบข้อมูล จากหน่วยบริการ และ จากผู้รับบริการหรือผู้ยื่นคำร้องพร้อมเยี่ยมบ้าน สสจ.  เป็นฝ่ายเลขานุการ เชิญประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องฯ

34 องค์ประกอบ คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น (ระดับจังหวัด)
ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตัวแทนหน่วยบริการ 2 ท่าน ตัวแทนผู้ใช้บริการ สสจ./หน.งานประกันสุขภาพ/จนท. ฝ่ายเลขานุการ

35 เกณฑ์ในการพิจารณาวินิจฉัย
เป็นผู้รับบริการสิทธิ UC และได้รับความเสียหาย 2. ความเสียหาย เกิดจากการรักษาพยาบาล หรือเหตุสุดวิสัย หรือพยาธิสภาพ 3. ความเสียหายต้องไม่เกิดจาก - การดำเนินไปตามพยาธิสภาพของโรค - เหตุแทรกซ้อนของโรคที่เป็นไปตามสภาพปกติ ธรรมดาของโรค ซึ่งได้รับการวินิจฉัยและรักษาตาม มาตรฐานทั่วไป

36 เกณฑ์ในการพิจารณาวินิจฉัย
5.ผู้มีสิทธิยื่นคำร้อง ผู้รับบริการ,ทายาทหรือผู้อุปการะหรือหน่วยบริการที่ให้บริการ 6.ระยะเวลาที่ต้องยื่นคำร้อง ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทราบความเสียหาย

37 ประเภทของความเสียหาย
ตาม มาตรา 41 (1) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิตและมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการดำรงชีวิต (2) สูญเสียอวัยวะหรือพิการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต (3) บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยต่อเนื่อง

38 อัตราการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
ประเภทของความเสียหาย อัตราการจ่ายเงินช่วยเหลือ 1. เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร หรือเจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิต 240,000 แต่ไม่เกิน 400,000 บาท 2.สูญเสียอวัยวะหรือพิการ ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต 100,000 แต่ไม่เกิน 240,000 บาท 3. บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยต่อเนื่อง ไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งนี้เริ่มมีผลบังคับใช้ 1 ตุลาคม 2555 หมายเหตุ : ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น จะต้องไม่เกิดจากการดำเนินตามพยาธิสภาพของโรค หรือเหตุแทรกซ้อนที่เป็นผลจากการวินิจฉัยตามปกติ หรือการรักษาโรคตามมาตรฐาน

39 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
แจ้งผลการพิจารณาแก่ผู้ยื่นคำร้อง กรณีไม่พอใจผลการวินิจฉัย ต้องยื่นอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ทราบผลการวินิจฉัย สถานที่ยื่นอุทธรณ์ - หน่วยบริการ/ หน่วย 50(5) / สสจ. / สปสช.เขต

40 การอุทธรณ์ สถานที่ยื่นอุทธรณ์ เรื่องที่อุทธรณ์
ผู้ยื่นคำร้องที่ไม่เห็นด้วยกับผลการวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นระดับจังหวัดในเรื่อง จ่ายไม่เต็มอัตราหรือไม่จ่ายเงินจัดประเภทความเสียหายไม่ถูกต้อง สถานที่ยื่นอุทธรณ์ -หน่วยบริการ/หน่วย 50(5)/ สสจ./สปสช.เขต - หน่วยงานหรือองค์กรอื่นๆ ที่ สปสช.กำหนด  เวลาที่ต้องยื่นอุทธรณ์ -ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับทราบผล ส่ง สปสช.เขต  ส่งเรื่องอุทธรณ์ สน.กฎหมาย เสนอ คณะกรรมการอุทธรณ์พิจารณาวินิจฉัยต่อ...

41 สรุปผลการพิจารณาคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการ มาตรา 41 เขต 3 นครสวรรค์ ปีงบประมาณ (ข้อมูล 1 ตุลาคม กันยายน 2558 ) จังหวัด จำนวน (ราย) เกณฑ์การพิจารณา ประเภทความเสียหาย อุทธรณ์ จำนวนเงินที่จ่าย เข้าเกณฑ์ ไม่เข้าเกณฑ์ 1เสียชีวิต/ทุพพลภาพฯ 2 สูญเสียอวัยวะ/พิการ 3เจ็บป่วยต่อเนื่อง นครสวรรค์ 18 17 1 13 4 4,670,000 กำแพงเพชร 5 2 6 2,696,000 ชัยนาท 7 1,077,000 พิจิตร 410,000 อุทัยธานี 3 1,248,000 รวม 55 45 10 24 10,101,000 หมายเหตุ รวม Case ช่วงปลายเดือนกันยายน 57 ตัดยอดรวมในปี 58 ที่จังหวัดส่งสำนักกฎหมายด้วย จาก สำนัก กฎหมาย จำนวน 7 ราย เขต 3 จำนวน ราย รวมทั้งหมด ราย

42 เหตุที่ยื่นคำร้อง (ทุกราย)
สรุปผลการพิจารณาคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการ มาตรา 41 เขต 3 นครสวรรค์ ปีงบประมาณ (ข้อมูล 1 ตุลาคม กันยายน 2558 ) จังหวัด จำนวน (ราย) เกณฑ์การพิจารณา เหตุที่ยื่นคำร้อง (ทุกราย) เข้าเกณฑ์ ไม่เข้าเกณฑ์ สูติกรรม ศัลยกรรม กุมารเวช อายุร กรรม นรีเวช ทันต ทำหมัน นครสวรรค์ 18 17 1 10 6 กำแพงเพชร 13 5 9 4 3 ชัยนาท 7 พิจิตร 2 อุทัยธานี รวม 55 45 26 14 หมายเหตุ รวม Case ช่วงปลายเดือนกันยายน 57 ตัดยอดรวมในปี 58 ที่จังหวัดส่งสำนักกฎหมายด้วย

43 3.การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ให้บริการ ตามมาตรา 18(4)

44 มาตรา 18 คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
มาตรา 18 คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) ... (2) ... (3) ... (4) กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหาร จัดการกองทุน

45 เกณฑ์ในการพิจารณาวินิจฉัย
เป็นผู้ให้บริการที่ได้รับความเสียหายที่เกิดจากการให้บริการ สาธารณสุข 2. เป็นผู้ให้บริการของหน่วยบริการในระบบ UC 3 .ยื่นคำร้องภายใน 1 ปีนับตั้งแต่วันที่ทราบความเสียหาย 4 .อนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเพื่อการ ชดเชยของเขต เป็นผู้พิจารณา 5. สามารถยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน (นับแต่วันที่ได้รับทราบผลการวินิจฉัย)

46 ประเภทของความเสียหายและอัตราการจ่ายเงิน
(เริ่ม 25 มี.ค.56) (1) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร 240,000 – ไม่เกิน 400,000 บาท (2) พิการ หรือสูญเสียอวัยวะ 100,000 – ไม่เกิน 240,000 บาท (3) บาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยต่อเนื่อง ไม่เกิน 100,000 บาท

47 สรุปข้อมูลผู้ยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น (กรณีผู้ให้บริการ) ตาม มาตรา ๑๘(๔) เขต ๓ นครสวรรค์ ปีงบประมาณ 255๘

48 นครสวรรค์ 14 กำแพงเพชร พิจิตร 4 อุทัยธานี รวม 27
สรุปข้อมูลผู้ยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีได้รับความเสียหายจากการให้บริการ ตามมาตรา 18(4) แห่งพ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพฯ ปี 2558 (1 ตุลาคม กันยายน 2558) พื้นที่ สปสช.เขต 3 นครสวรรค์ จังหวัด รวมจำนวน(ราย) หน่วยบริการ เกณฑ์การพิจารณา ความเสียหาย จำนวนเงินช่วยเหลือ ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ วัณโรค บาดเจ็บ นครสวรรค์ 14 รพ.จิตเวช 5 7,500 รพ.สปร. 8 120,000 รพ.พยุหะคีรี 1 20,000 กำแพงเพชร รพ.คลองขลุง 3 60,000 รพ.พรานกระต่าย 10,000 รพ.ขาณุวรลักษบุรี พิจิตร 4 รพ.พิจิตร 1,000 รพ.สากเหล็ก รพ.บึงราราง รพ.วชิรบารมี อุทัยธานี รพ.อุทัยธานี 50,000 รพ.สว่างอารมณ์ รวม 27 20 7 339,500 หมายเหตุ จังหวัดชัยนาท ไม่มีผู้ยื่นคำร้อง

49 หากมีข้อสงสัยหรือพบปัญหาในการเข้ารับบริการจะทำอย่างไร ?

50 Call Center 1330

51 ...การทำความดี เป็นสุขเสมอ...
...การทำความดี เป็นสุขเสมอ... ขอบคุณค่ะ ประสานงาน... กัญพัชร์ บูรณางกูร(นก)


ดาวน์โหลด ppt ในระบบหลักประกันสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google