งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

NIH 4.0 8 พฤศจิกายน 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "NIH 4.0 8 พฤศจิกายน 2559."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 NIH 4.0 8 พฤศจิกายน 2559

2 Thailand 4.0 Internet of Things
Artificial Intelligence (AI) จะมาแทน Knowledge Worker ถ้าเราทันมัน เราจะทำงานร่วมกันได้ แต่ถ้าเราไม่ทันมัน AI จะทำงานแทนเรา When patterns are broken, the happen of new world

3 ประเทศไทยต้องเผชิญกับกับดัก
ประเทศรายได้ขนาดปานกลาง เต็มไปด้วยความเหลื่อมลํ้า ทุจริตคอรัปชัน กำลังเผชิญกับความขัดแย้งที่รุนแรงในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา หากปราศจาก “การปฏิรูปใหญ่ครั้งที่ 2” ประเทศไทยอาจกลายเป็นประเทศที่ล้าหลัง เป็นรัฐที่ล้มเหลวในที่สุด

4 เมื่อโลกเปลี่ยน ไทยต้องปรับ เพราะ โลกจะเกิดรูปแบบใหม่ 4 ชุด ดังนี้
1. ชุดโอกาสแบบใหม่ 2. ชุดภัยคุกคามแบบใหม่ 3. ชุดข้อจำกัดแบบใหม่ 4. ชุดขีดความสามารถแบบใหม่ ซึ่งทั้งรูปแบบใหม่ ทั้ง 4 ชุดนี้ จะเกิดบนความสัมพันธ์ 2 ประการ ความสัมพันธ์ที่ 1 การเปลี่ยนปฏิสัมพันธ์ของคนและเครื่อง จากศตวรรษที่ 20 มาสู่ศตวรรษที่ 21 จากเดิม คน สร้างเครื่อง มาสูยุคปัจจุบัน เป็น เครื่องจะกำหนดการกระทำของคน ความสัมพันธ์ที่ 2 Revolution of Brain เกิดจากการที่ พัฒนาการของเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างขึ้น (Human Technology Civilization) ทำให้ มนุษย์มีการแบ่งบันข้อมูลและความรู้กัน พลังสูงสุดคือ Power of Share Knowledge ในยุคศตวรรษที่ 21 การได้มาซึ่งความรู้ (Produce Knowledge) นั้นไม่เพียงพอ เพราะความรู้สามารถกระจายได้เร็ว สิ่งที่สำคัญคือ การแปลความหมายของข้อมูลนั้น (Produce Meaning)

5 3D Demonopolized Knowledge ไม่มีการผูกขาดความรู้ เพราะมีความรู้ใหม่ๆเสมอ Demonopolized Information ไม่มีการผูกขาดข้อมูล คนไข้สร้าง community ในการพูดคุยกันเอง Disruption Technology เทคโนโลยีมามีบทบาทการรักษาโรคมากขึ้น แต่ในทางกลับกันมีความท้าทายที่ต้องพัฒนาต่อไป คือ Reskill, Upskill และ Multi-skill ต้องสร้างคนที่เป็น Imagineering คือ สานฝันบนสิ่งที่ dynamic สามารถ จินตนาการและ ถ่ายทอดออกมาได้ Innovate or die …………….ถ้าเราไม่เปลี่ยน โลกจะเปลี่ยนเรา

6 โมเดลประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วย “กลไกการขับเคลื่อน” ชุดใหม่ (New Growth Engine) 3 กลไกสำคัญ คือ
กลไกขับเคลื่อนผ่านการสร้างและยกระดับผลิตภาพ (Productive Growth Engine) กลไกขับเคลื่อนที่คนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Growth Engine) และ กลไกการขับเคลื่อนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Green Growth Engine)

7 ประเทศในโลกที่หนึ่งในบริบทของประเทศไทย
มีคุณลักษณะ 6 ประการด้วยกัน คือ 1. มีความภาคภูมิใจในความเป็นชาติและวัฒนธรรมของตน 2.พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ 3. มีสังคมที่มีคุณภาพ 4. มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ 5. มีโครงสร้างเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง 6. การมีบทบาทสำคัญในเวทีระดับภูมิภาคและระดับโลก

8

9

10

11

12

13

14

15 โครงการบูรณาการ

16 โครงการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่ายและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ

17 2. หลักการและเหตุผล ในประเทศไทยพบผู้ป่วยและเสียชีวิตจากการดื้อยามากกว่าโรคติดต่อ ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่ติดเชื้อในโรงพยาบาล ที่มักจะได้ยามาหลายขนานแล้ว มีการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณปีละ 38,000 คน การสูญเสียทางเศรษฐกิจ 4.2 หมื่นล้านบาท

18

19 ลดอัตราป่วยจากเชื้อดื้อยา
เป้าหมาย ลดอัตราป่วยจากเชื้อดื้อยา AMR detection Surveillance HCAI prevention and control Antimicrobial stewardship LAB

20 แผนยุทธศาสตร์ AMR วิสัยทัศน์ (Vision)
ชุมชน (คลินิก ร้านยา ชุมชน) โรงพยาบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ การเฝ้าระวัง AMR ทางห้องปฏิบัติการใน รพ. และทางระบาดวิทยาใน รพ. ชุมชน และสิ่งแวดล้อม การควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพในภาพรวมของประเทศ การป้องกันและควบคุม AMR และการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในสถานพยาบาล การป้องกันและควบคุม AMR การใช้ยาต้านจุลชีพในการเกษตรและสัตว์เลี้ยง และการทำความเข้าใจกับกษตรกร การสร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน การพัฒนาโครงสร้างและกลไกของการทำงานเชิงบูรณาการ การติดตามประเมินผล และประสานความร่วมมือภายในประเทศและต่างประเทศในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หลักการ: (๑) เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่เน้นลงมือทำ (Action-oriented) (๒) เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่เน้นการทำงานร่วมของหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ อย่างบูรณาการและเสริมพลังกันและกัน (๓) เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่กระตุ้นให้เกิดความมุ่งมั่นทางการเมือง (Political commitment) ในการแก้ปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ แนวคิด: (๑) แนวคิดเรื่องสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health Approach) (๒) แนวคิดเรื่องสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา การเกษตร อาหาร สัตว์เลี้ยง สิ่งแวดล้อม พันธกิจ (Mission) เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและเสริมสร้างความร่วมมือของพหุภาคีให้เป็นหนึ่งเดียวในการแก้ปัญหา AMR อย่างยั่งยืน อันจะนำสู่ การเสียชีวิตและผลกระทบทางเศรษฐกิจจาก AMR ลดลง การระบาดและการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศ ลดลง การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่เหมาะสมของประเทศ ลดลง ความตระหนักรู้ของคนไทยต่อ AMR และการใช้ยาต้านจุลชีพเหมาะสม เพิ่มขึ้น การทำงานเชิงบูรณาการด้านการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศมีความยั่งยืน วิสัยทัศน์ (Vision) ประเทศไทยสามารถลดการป่วย การเสียชีวิต และผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการดื้อยาต้านจุลชีพ

21 เป้าหมาย ภายในปี 2564 การป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ร้อยละ 50
ปริมาณการใช้ยาต้านจุลชีพสำหรับมนุษย์ลดลง ร้อยละ 20 ปริมาณการใช้ยาต้านจุลชีพสำหรับสัตว์ลดลง ร้อยละ 30 ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพมีสมรรถนะตามเกณฑ์สากล ไม่ต่ำกว่าระดับ 4

22 Quick Win 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือน
มี ‘คณะกรรมการบูรณาการงานด้านการดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ’ มี ‘นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล’ ที่ครอบคลุมยาต้านจุลชีพ 6 เดือน มี ‘ประกาศฯ ยกเลิก ยาต้านจุลชีพ จากการเป็น ยาสามัญประจำบ้าน’ จำนวน 1 ฉบับ 12 เดือน มี ‘หน่วยนำร่องระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแบบบูรณาการ’ ในโรงพยาบาลอย่างน้อย 2 แห่ง การนำร่องระบบมาตรฐานการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป’ จำนวน 24 แห่ง ใน 12 เขตสุขภาพ ประกาศฯ ปรับประเภทยาต้านจุลชีพ (reclassification)’ จำนวน 1 ฉบับ มี ‘ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เรื่อง ควบคุมการผลิต ขาย ใช้ ยาผสมลงในอาหารสัตว์’ จำนวน 1 ฉบับ Quick Win

23 กิจกรรม พัฒนาห้องปฏิบัติการ(บุคลากร)
พัฒนามาตรฐานห้องปฏิบัติการด้านจุลชีววิทยา พัฒนาะบบเฝ้าระวังแบบ case finding based ปรับปรุง NARST ให้ครอบคลุมสถานพยาบาลทุกกลุ่ม พัฒนาระบบข้อมูลห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง

24 3. ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ 2560-2564
4. งบประมาณ ปีงบประมาณ : รวม 3,924,000 โครงการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่ายและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 2,464,000บาท โครงการจัดประชุม 1,460,000 บาท

25 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนที่
3ส่งผลต่อตัวชี้วัด 20 ปี หมวด Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนที่ 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 2.โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ลักษณะ Leading Indicator ระดับการวัดผล เขต ชื่อตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 36. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) คำนิยาม 1. การประเมินโรงพยาบาลใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นการประเมินโรงพยาบาล/เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ ซึ่งประกอบด้วยเกณฑ์การประเมินโรงพยาบาล 18 ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมิน รพ.สต./หน่วยบริการปฐมภูมิ 2 ตัวชี้วัด รวมเป็นจำนวน 20 ตัวชี้วัด (หากกรณีเป็น รพ.ระดับ A – M1 จะเพิ่มการประเมินเรื่องการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) 1 ตัวชี้วัด) 2. ระดับการพัฒนาสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ดังนี้ ขั้นที่ 1 หมายถึง มีนโยบาย RDU มีคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน มีมาตรการและกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล มีการพัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด RDU 20 ตัวชี้วัด และมีการติดตามประเมินผล (และกรณีเป็น รพ.ระดับ A-M1 ต้องมีแผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยา (AMR) ทั้งการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ และการดูแลกำกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล) ขั้นที่ 2 หมายถึง มีการดำเนินการตามตัวชี้วัด RDU และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 8 ตัวชี้วัด จาก 20 ตัวชี้วัด (และกรณีเป็น รพ.ระดับ A – M 1 ต้องมีรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยา (AMR) ในกระแสเลือด) ขั้นที่ 3 หมายถึง มีการดำเนินการตามตัวชี้วัด RDU และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 16 ตัวชี้วัด จาก 20 ตัวชี้วัด (และกรณีเป็น รพ.ระดับ A – M1 ต้องมีอัตราการติดเชื้อดื้อยา (AMR) ในกระแสเลือดลดลงจากปีก่อน) 3. ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา (Antimicrobial Resistance ; AMR) ในกระแสเลือด หมายถึง ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดจากแบคทีเรีย 8 ชนิด ได้แก่ Acinetobacter spp., Staphylococcus aureus, Escherichia coli, Klebsiella pneumoniae, Pseudomonas spp., Salmonella spp. Enterococcus faecium และ Streptococcus pneumoniae

26 ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 มีแผนปฏิบัติการเพื่อเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพัฒนามาตรฐานห้องปฏิบัติการด้านจุลชีววิทยาระยะที่ 1 (เชื้อแบคทีเรีย) โดยเน้นการแก้ไขปัญหา AMR 3 - ทดสอบความชำนาญอย่างน้อย 2 ครั้ง แก่ห้องปฏิบัติการของรพ.เครือข่าย - จัดทำ antibiogram ของเครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันการแพทย์แห่งประเทศไทย ภายในเดือนสิงหาคม 2560 เพิ่มเติมจาก antibiogram ภาพรวมของประเทศที่มีอยู่แล้ว 4 - มีการเริ่มพัฒนา case-finding based surveillance ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก ในโรงพยาบาลบำราศนราดูร และ รพ.สุราษฎร์ธานี โดยเก็บข้อมูลการป่วยจากเชื้อดื้อยาประเมินจาก การติดเชื้อในกระแสเลือด (bacteremia) ของแบคทีเรีย 8 ชนิด ได้แก่ Acinetobacter spp., Staphylococcus aureus, Escherichia coli, Klebsiella pneumoniaeและ Pseudomonas spp. Salmonella spp. Enterococcus faecium , Streptococcus pneumoniae (ดำเนินการตามขั้นตอนที่องค์การอนามัยโลกกำหนด) *** - มี (ร่าง) มาตรฐานห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา (เชื้อแบคทีเรียดื้อยา) 5 - ได้ข้อมูลพื้นฐาน baseline การป่วยจากเชื้อดื้อยาย้อนหลังจากรพ. 2 แห่ง เพื่อเป็นฐานการดำเนินการวัดผลในระยะต่อไป - เสนอ (ร่าง) มาตรฐานห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา (เชื้อแบคทีเรียดื้อยา) ต่อกระทรวงสาธารณสุขเพื่อประกาศใช้

27 6. แนวทางขับเคลื่อนโครงการให้ประสบความสำเร็จ
ผู้บริหารให้ความสำคัญ สื่อสารสร้างความเข้าใจในแผนการทำงานให้ชัดเจน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วมดำเนินการในพื้นที่รับผิดชอบ บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความร่วมมือระดับนานาชาติ นำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ ถ่ายทอดตัวชี้วัด โรงพยาบาลได้ประโยชน์ ผู้ป่วยได้ประโยชน์

28 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ห้องปฏิบัติการเครือข่ายมีสมรรถนะในการตรวจเชื้อดื้อยาตามมาตรฐาน ระบบเฝ้าระวัง AMR ที่สามารถใช้ประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย การกำกับติดตามการดำเนินการแก้ไขปัญหา AMR

29 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 4 พฤศจิกายน 2559
โครงการพัฒนาระบบจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ (Biorisk management) และพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยตู้ชีวนิรภัย ในห้องปฏิบัติการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 4 พฤศจิกายน 2559

30 2. หลักการและเหตุผล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ของประเทศ เป็นหน่วยงานหลักด้านการพัฒนาห้องปฏิบัติการตาม IHR มีหน้าที่ต้อง พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ พัฒนาระบบบริหารความปลอดภัยห้องปฏิบัติการพร้อมจะรองรับเชื้อโรคอุบัติใหม่ เป็นผู้กำกับดูแล พรบ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558

31 พัฒนาห้องปฏิบัติการเครือข่าย
Biorisk Management (Biosafety and Biosecurity) สวส Implementer พัฒนาตนเองDMSc Biorisk management พัฒนาห้องปฏิบัติการเครือข่าย สกช Regulator พรบ.เชื้อโรคฯ และอนุบัญญัติ โรคอุบัติใหม่ อาวุธชีวภาพ เพื่อกระตุ้นให้ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์และห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลเครือข่ายมีการพัฒนาระบบจัดการความเสี่ยงห้องปฏิบัติการชีวภาพ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยมีความรู้เรื่องระบบความมั่นคงด้านชีวภาพ (Biosecurity) ความปลอดภัยด้านชีวภาพ (Biosafety) และ การจัดการความเสี่ยงห้องปฏิบัติการชีวภาพ (Biorisk

32 3. ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ 2559-2560
4. งบประมาณ ปีงบประมาณ : 3,048,500 (2,800, ,500)

33 ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จ
มีแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบจัดการความเสี่ยงห้องปฏิบัติการชีวภาพ (Bio risk management) และพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยตู้ชีวนิรภัยในห้องปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 และได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร มีการฝึกอบรมฟื้นฟูความรู้วิทยากรระบบบริหารความเสี่ยงห้องปฏิบัติการ(Biorisk Management) และการใช้ตู้ชีวนิรภัย 1 ครั้ง จัดการอบรมถ่ายทอดความรู้ เรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านชีวภาพ และการใช้ ตู้ชีวนิรภัย ให้แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ภาคกลางและกรุงเทพมหานคร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์มีการประเมินความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงของ วิธีการตรวจวิเคราะห์/ขั้นตอนการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ทั้ง 14 แห่ง อย่างน้อยหน่วยงานละ 1 เรื่อง และมีการฝึกอบรมถ่ายทอด ความรู้ เรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยงห้องปฏิบัติการชีวภาพให้แก่เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลเครือข่ายในเขตรับผิดชอบของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อย่างน้อยร้อย ละ 80 (รวมข้อมูลการดำเนินงานปี ) มีร่างมาตรฐานความปลอดภัยตู้ชีวนิรภัยในห้องปฏิบัติการ

34 6. แนวทางขับเคลื่อนโครงการให้ประสบความสำเร็จ
ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ สร้างความตระหนัก เป็นเจ้าของ กม. ต้องเป็นหน่วยงานตัวอย่าง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ดูแลเครือข่าย ถ่ายทอดตัวชี้วัด โรงพยาบาลได้ประโยชน์ ผู้ป่วยได้ประโยชน์

35 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) กรมวิทย์ ปลอดภัยและมีความพร้อมในการรองรับการระบาดของโรคติดเชื้อร้ายแรง 2) ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลเครือข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านชีวภาพของโรงพยาบาล 3) ผู้ปฏิบัติงานสามารถประเมินความเสี่ยงและบริหารความเสียงในการทำงานกับโรคติดเชื้อร้ายแรง เพื่อการรองรับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ต่างๆ 4) ยกระดับมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางห้องปฏิบัติการของประเทศไทย ให้ก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ

36 ผลลัพธ์ ประเทศไทยมีความพร้อม ผู้ปฏิบัติงาน ปลอดภัย ประชาชนปลอดภัย
รองรับโรคระบาด สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติงาน ปลอดภัย ไม่ติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน ประชาชนปลอดภัย เชื้อโรคไม่รั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อม ไม่ถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด

37 ยุคที่ 4 ธุรกิจและนวัตกรรม
มาจากการผสาน 3 Domain หลัก ดังนี้ Bio Domain เช่น Bioprint, genetics Physical Domain เช่น Autonomous vehicle (รถที่คนขับเองได้), 3D Printer, 4D Printer Digital เช่น Internet of Thing (IoT), ผู้ผลิตและผู้ซื้อสามารถติดต่อกันโดยตรง จากนี้ไป โลกจะมีฐานบน 3 Domain นี้ ซึ่งในปัจจุบันหากมีเครือข่าย และความสัมพันธ์ระหว่างกัน (Network and Connection) มาก จะเกิดการเติบโตแบบ Exponential ไม่รู้จบ


ดาวน์โหลด ppt NIH 4.0 8 พฤศจิกายน 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google