งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินคดีตามกฎหมายควบคุมอาคาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินคดีตามกฎหมายควบคุมอาคาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินคดีตามกฎหมายควบคุมอาคาร
โดย นางธิดารัตน์ วันชัย สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง

2 ประเภทของคดีตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
คดีอาญา โทษ จำคุกหรือปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับ คดีปกครอง การออกคำสั่งทางปกครอง ใบอนุญาตก่อสร้าง ใบรับรอง คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ระงับการกระทำ ห้ามใช้ แก้ไข รื้อถอน ระงับการใช้ แก้ไข หรือรื้อถอนอาคารที่มีสภาพเป็นอันตราย

3 มาตรการบังคับทางปกครอง
ศาลมีคำสั่งจับกุมและกักขัง เจ้าพนักงานท้องถิ่นดำเนินการหรือจัดให้มีการรื้อถอนเอง

4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดี
คดีอาญา ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คดีปกครอง พระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

5 ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา
ตรวจสอบว่ามีการกระทำความผิดฐานใด บทกำหนดโทษ มาตรา 65-74 เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน สอบสวน

6

7 ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา
ตรวจสอบว่ามีการกระทำความผิดฐานใด บทกำหนดโทษ มาตรา 65-74 เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน สอบสวน ส่งเอกสารหลักฐานให้ถ้อยคำข้อเท็จจริงการกระทำ ความผิดต่อพนักงานสอบสวน ติดตามผลการดำเนินคดีอาญาจนกว่าคดี จะถึงที่สุด

8 องค์กรผู้มีอำนาจพิจารณาคดีอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี พนักงานสอบสวนส่งเรื่อง ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

9 ในเขตจังหวัดอื่น - ผู้ว่าราชการจังหวัด - อัยการจังหวัด
- หัวหน้าตำรวจภูธรจังหวัด ค่าปรับที่เปรียบเทียบให้เป็นของท้องถิ่น

10 ศาลยุติธรรม พนักงานอัยการเป็นผู้ฟ้อง
ศาลยุติธรรม พนักงานอัยการเป็นผู้ฟ้อง ศาลชั้นต้น ( ศาลจังหวัด หรือ ศาลแขวง ) ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา

11 กรณีที่จะต้องรับโทษหนักขึ้น
ถ้าเป็นการกระทำของผู้ดำเนินการ ต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ( มาตรา 69 ) ถ้าเป็นอาคารพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การสาธารณสุข การกระทำในทางการค้า ผู้กระทำต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ( มาตรา 70 )

12 ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินคดีอาญา
กรณีนิติบุคคลกระทำความผิด ถือว่ากรรมการ หรือ ผู้จัดการทุกคนเป็นผู้ร่วมกระทำผิด (มาตรา 72 ) เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินหรืออาคาร ที่ใกล้ชิด หรือ ติดต่อกับอาคารที่มีการกระทำความผิด หรือ บุคคลที่ได้ถูกกระทบกระเทือน เป็นผู้เสียหายตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ( มาตรา 73 )

13 บทเบ็ดเตล็ด มาตรา 64 เจ้าพนักงานท้องถิ่น นายช่าง นายตรวจ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา คุ้มครองความผิดต่อเจ้าพนักงาน (มาตรา ) ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ (มาตรา )

14 ข้อเตือนใจในการดำเนินคดีอาญา
ความผิดฐานฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ถ้ายังอยู่ในระหว่างการอุทธรณ์คำสั่ง จะต้องรอผลการอุทธรณ์ก่อน ความผิดทั่วไป สามารถแจ้งความร้องทุกข์ได้โดยไม่ต้องมีการออกคำสั่งใด ๆ คดีขาดอายุความหรือไม่ อายุความ 5 ปี นับแต่วันกระทำความผิด

15 ขั้นตอนการดำเนินคดีปกครอง
- การตรวจสอบข้อเท็จจริงและกฎหมาย - ขั้นตอนและวิธีการออกคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น - อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น

16 การตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
1 ข้อเท็จจริง เป็นอาคารตามมาตรา 4 หรือไม่ กฎกระทรวงสิ่งที่สร้างขึ้นอย่างอื่นเป็นอาคาร ได้รับการยกเว้นที่จะต้องขออนุญาตหรือไม่ มาตรา 31 กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 ( พ.ศ. 2528) กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2528) กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2528)

17 2. สถานที่ตั้งของอาคาร -ตั้งอยู่ในเขตผังเมืองรวมและมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไร -ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ห้ามก่อสร้างอาคารหรือไม่ -ประเภท ลักษณะ แบบ รูปทรง สัดส่วน ขนาด เนื้อที่ -ที่ตั้ง ระดับ ความสูง ที่ว่าง แนวอาคาร -ระยะ ระดับ ระหว่างอาคารหรือถนน ทางหรือที่สาธารณะ

18 3 ลักษณะการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมาย
ก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น (มาตรา 21 และมาตรา 22) ก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคารผิดไปจากที่ได้รับใบอนุญาต หรือผิดจากที่แจ้งไว้ ( มาตรา 31)

19 ก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร ฝ่าฝืน
-พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร มาตรา 40 -กฎกระทรวง -ข้อบัญญัติท้องถิ่น -กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารประเภทควบคุมการใช้ โดยมิได้รับอนุญาตหรือผิดจากที่แจ้งไว้ (มาตรา 32 และ 33)

20 อาคารมีสภาพหรือการใช้อาจเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ ชีวิต (มาตรา 46)
ดัดแปลงหรือใช้ที่จอดรถเพื่อการอื่น (มาตรา 34) อาคารมีสภาพหรือการใช้อาจเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ ชีวิต (มาตรา 46) อุปกรณ์อาคารตามมาตรา 32 ทวิ มีสภาพหรือการใช้ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต (มาตรา 46 ทวิ)

21

22

23 ขั้นตอนและวิธีการออกคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
การออกคำสั่งต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย ที่บัญญัติไว้ 2) ออกคำสั่งให้ถูกต้องตามแบบของคำสั่งของเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 3) ออกคำสั่งให้บุคคลผู้ต้องปฏิบัติตามคำสั่งตามที่กฎหมาย กำหนดไว้

24 4) รายละเอียดในคำสั่งต้องมีเหตุผลและชัดเจน
5) ลงนามในคำสั่งโดยเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือ ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจโดยชอบด้วยกฎหมาย 6) การสั่งหรือแจ้งคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้

25 การสั่งหรือแจ้งคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
มาตรา 47 การสั่งหรือการแจ้งนอกจากกรณี ตามมาตรา 40 ( 2 )และมาตรา 47 ทวิ ให้ทำเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ณ ภูมิลำเนา หรือจะทำเป็นบันทึกให้ลงลายมือชื่อรับทราบ กรณีไม่อาจดำเนินการดังกล่าวได้ ให้ปิดคำสั่ง ณ อาคารหรือบริเวณที่ตั้งอาคาร และให้ถือว่าผู้นั้นได้รับคำสั่งเมื่อพ้นกำหนดเจ็ดวัน

26 มาตรา 47 ทวิ การแจ้งคำสั่งที่ให้ระงับการกระทำ หรือให้รื้อถอนอาคาร ให้ทำเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ณ ภูมิลำเนา และปิดคำสั่งดังกล่าว ณ อาคาร หรือบริเวณที่มีการกระทำและให้ถือว่าผู้นั้นได้รับทราบคำสั่งเมื่อพ้นกำหนดสามวัน

27 กฎหมายที่เกี่ยวกับการออกคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
พระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ( มาตรา 5 คำนิยาม การพิจารณาทางปกครอง: การเตรียมการและการดำเนินการ ของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำสั่ง ทางปกครอง

28 โอน สงวน ระงับ หรือกระทบต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล
คำสั่งทางปกครอง : การใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ที่มีผลต่อบุคคลในการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือกระทบต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล เจ้าหน้าที่ : บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล ซึ่งใช้อำนาจหรือได้รับ มอบให้ใช้อำนาจทางปกครองของรัฐในการดำเนินการ ตามกฎหมาย มาตรา 12 : คำสั่งทางปกครองต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจ หน้าที่ มาตรา : เจ้าหน้าที่ต่อไปนี้จะทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ - คู่กรณี คู่หมั้น คู่สมรส - ญาติคู่กรณี ภายในสามชั้น - ผู้แทน ตัวแทน คู่กรณี - เจ้าหนี้ ลูกหนี้ นายจ้างคู่กรณี

29 มาตรา 16 : เหตุอื่นใดเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ซึ่งมีสภาพร้ายแรงไม่
เป็นกลาง มาตรา 30 : กรณีคำสั่งทางปกครองกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณี มีโอกาสทราบข้อเท็จจริง อย่างเพียงพอ และมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดง พยานหลักฐานของตน มาตรา 34 : คำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือ ต้องมีข้อความ หรือความหมายชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้

30 มาตรา 37 : คำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือ ต้องจัดให้
มีเหตุผลประกอบด้วย - ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ - ข้อกฎหมายที่อ้างอิง - ข้อพิจารณาและสนับสนุนในการใช้ดุลยพินิจ มาตรา 49 – 53 : การเพิกถอนคำสั่งทาง ปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย : การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ ชอบด้วยกฎหมาย

31 มาตรา 9 ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา หรือมีคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 (WWW. Admincourt.go.th) มาตรา 9 ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณา หรือมีคำสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ * คดีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ รัฐ - กระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย - กระทำโดยไม่มีอำนาจหรือ นอกเหนืออำนาจ - กระทำโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย - กระทำโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน

32 - กระทำโดยไม่สุจริต - เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม - สร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็น สร้างภาระเกินสมควร - ใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ * คดีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่รัฐ - ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ปฏิบัติ - ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร

33 อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
(มาตรา )

34 มาตรา 40 ในกรณีที่มีการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน
หรือเคลื่อนย้ายอาคารโดยฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราช บัญญัตินี้กฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้อง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจดำเนินการ ดังนี้

35 มาตรา 40 (1 ) มีคำสั่งให้เจ้าของ หรือผู้ครอบครอง
อาคารผู้ควบคุมงาน ผู้ดำเนินการ ลูกจ้างหรือบริวาร ของบุคคลดังกล่าวระงับการกระทำ

36

37 มาตรา 40 (2) มีคำสั่งห้ามมิให้บุคคลใดใช้ หรือ
เข้าไปในส่วนใด ๆ ของอาคาร หรือบริเวณที่มีการกระทำ และจัดให้มีเครื่องหมายการห้ามนั้นไว้

38

39

40 มาตรา 40 (3) พิจารณามีคำสั่งตามมาตรา 41หรือมาตรา 42 แล้วแต่กรณีภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับคำสั่งตาม (1)

41 อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา 40, 41, 42, 43
อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา 40, 41, 42, 43 มีการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคารฝ่าฝืนกฎหมาย สั่งให้ระงับการกระทำ มาตรา 40 (1) สั่งห้ามใช้หรือเข้าไปในอาคาร มาตรา 40(2) พิจารณาว่าแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องได้หรือไม่ มาตรา 40 (3)

42 มาตรา 41 ถ้าการกระทำตาม มาตรา 40 เป็นกรณีที่สามารถ แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องได้ให้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้ เจ้าของอาคาร ยื่นคำขออนุญาต หรือดำเนินการแจ้ง หรือดำเนินการ แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่กำหนด แต่ต้อง ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน

43 กรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
ไม่ขัดกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น สั่งให้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตมาตรา 41

44

45 กรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
ไม่ขัดกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น ขัดกฎกระทรวงหรือ ข้อบัญญัติท้องถิ่น สั่งให้ยื่นคำขอรับ ใบอนุญาตมาตรา 41 สั่งให้แก้ไขและยื่นคำขอรับใบอนุญาตมาตรา41

46

47

48

49

50

51

52

53

54 กรณีแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
ขัดกฎกระทรวงหรือ ข้อบัญญัติท้องถิ่น ไม่ขัดกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น สั่งให้แก้ไขและยื่นคำขอรับใบอนุญาตมาตรา 41 สั่งให้ยื่นคำขอรับ ใบอนุญาตมาตรา 41 ฝ่าฝืน สั่งให้รื้อถอนอาคาร มาตรา 42

55

56 มาตรา 42 ถ้าการกระทำตามมาตรา 40 เป็นกรณีที่ไม่
สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องได้ หรือเจ้าของอาคาร มิได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน ท้องถิ่นตามมาตรา 41 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้ เจ้าของ หรือผู้ครอบครองอาคาร ผู้ ควบคุมงาน หรือผู้ดำเนินการ รื้อถอน อาคารนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่า สามสิบวัน

57 กรณีไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
สั่งให้รื้อถอนอาคาร มาตรา 42

58

59

60 มาตรการบังคับทางปกครอง
มาตรา 43 ถ้าไม่มีการรื้อถอนอาคารตามคำสั่งของ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา 42 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น มีอำนาจดังต่อไปนี้ (ต้องไม่อยู่ระหว่างอุทธรณ์) (1) ยื่นคำร้องต่อศาลปกครอง นับแต่ระยะเวลาที่ กำหนดให้รื้อถอนอาคารล่วงพ้นไป ขอให้ศาลมีคำสั่งจับกุม และกักขังบุคคลดังกล่าว (2) ดำเนินการหรือจัดให้มีการรื้อถอนอาคารได้เอง

61 สั่งให้รื้อถอนอาคารมาตรา 42
ฝ่าฝืน ยื่นคำขอให้ศาล มีคำสั่งจับกุมและกักขัง มาตรา 43 (1) เข้ารื้อถอนอาคารได้เอง มาตรา 43 (2)


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินคดีตามกฎหมายควบคุมอาคาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google