งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine
Green Growth Engine DoH 4.0 Smart Couple คู่รัก 4.0 SMART Innovation (LO/HLO/HPO) Smart Citizen Green Clean Hospital PPP ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านสาธารณสุข Smart Elderly ผู้สูงอายุ 4.0 Digital Infectious Waste Tracking Control Smart Children เด็กไทย 4.0 Disruptive Health PPP Model by Health Literacy 1

2 Action plan 5 years Engine : Inclusive Growth Engine
Final Goal : Smart Couple & Smart Children Current  LBW สูงดีสมส่วน พัฒนาการเด็ก 7 % 63 %  85 % 2560 2561 2562 2563 2564 Action : เด็กไทยแก้มใส/สาวไทยแก้มแดง ยาน้ำเสริมธาตุเหล็กในเด็ก Fe+ Folic acid ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ Action : พ่อแม่รอบรู้ด้วย digital สู่การเลี้ยงลูกแบบ traditional (กิน กอด เล่า เล่น นอน ฟัน) Application : สมุดสีชมพู DSPM เพิ่มความรอบรู้และความครอบคลุม (Create demand ) 80% 100% 2

3 Action plan 5 years Engine : Inclusive Growth Engine (Smart Elderly Citizen) Final Goal : อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (HALE) 69 ปี Current : - สังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.5 - อายุคาดเฉลี่ยการมีสุขภาพดี 66.5 ปี - ผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 48 Current : อายุคาดเฉลี่ยการมีสุขภาพดี 66.5 ปี Goal : อายุคาดเฉลี่ยการมีสุขภาพดี 69 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 Action : ส่งเสริมการสื่อสารและความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)โดยใช้คู่มือดูแลผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวแซ่บ” Action : ส่งเสริมพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (ศพอส) จำนวน 879 แห่ง Action : พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในเขตเมือง (Urban) Action : พัฒนาเทคโนโลยี (Application) คู่มือดูแลผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวแซ่บ” Action : พัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงอายุโดยนวัตกรรมผ่าน line Management / Youtube/ Self - Learning Application Action : ขับเคลื่อนการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี สุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ (Age –Friendly Cities) 3

4 Action plan 5 years Engine : Inclusive Growth Engine
Final Goal : Disruptive Health PPP Model by Health Literacy Goal : หน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 100 สถาบันการศึกษาทุกระดับ สถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 80 ชุมชน ตำบล อำเภอ เป็น Health Literate Communities Goal : สถาบันการศึกษาทุกระดับ สถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 85 ชุมชน ตำบล อำเภอ เป็น Health Literate Communities Goal : ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพคนไทยระดับดีมาก ร้อยละ 15 หน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 80 สถาบันการศึกษาทุกระดับ สถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 50 Current : ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับดีมากของคนไทยเรื่อง 3 อ 2 ส ร้อยละ 1.6 (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา) Goal : กรมอนามัยเป็น Health Literate Organize Goal : หน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขเป็น Health Literate Organize ร้อยละ 50 Final Goal : ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพคนไทยระดับดีมาก ร้อยละ 30 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 Action : การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากรไทย ปรับ Actual Services เป็น Health Literate Quality Services พัฒนาระบบ Electronic Health & Mobile Health สนับสนุนการศึกษาวิจัย และจัดให้มี Center of Excellence ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพ พัฒนากระบวนการผลิตสื่อด้านสุขภาพและช่องทางเผยแพร่ข้อมูล Action : ยกระดับการปฏิรูปความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน กำหนดให้การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนอยู่ในยุทธศาสตร์ชาติ พัฒนาหลักสูตรสุขศึกษาในโรงเรียน แบบ Whole School Approach และ FRESH เน้นทักษะชีวิต ทักษะสุขภาพ ส่งเสริมการเรียนรู้สุขภาพในสถานประกอบการผ่านทีมบริหารกำหนดเป็นนโยบายและมีกิจกรรมผ่าน CSR Action : การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากรไทย 4

5 Action plan 5 years Engine : Green Growth Engine / Green & Clean Hospital Final Goal : รพ.สธ. มีการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อด้วยระบบ Digital Tracking control for Infectious Waste Goal 2563 : รพ.สธ.ระดับ รพช.ขึ้นไป มีการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อด้วยระบบ Digital Tracking control for Infectious Waste Final Goal 2565 : รพ.สธ. มีการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อด้วยระบบ Digital Tracking control for Infectious Waste Current 2560 : ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อทุกแหล่งกำเนิด ปี , ตัน เพิ่มขึ้นจากปี , ตัน 2560 2561 2562 2563 2564 2565 Action : พัฒนาระบบฐานข้อมูลการจัดการมูลมูลฝอยติดเชื้อ Action : พัฒนาระบบ Digital Infectious Waste Tracking Control Action : ปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ.2545 และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง Action : พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับการใช้ระบบฯ รพศ./รพท./รพช. มีการใช้ระบบฯ Action : รพสต. ใช้ระบบฯ Action : กำกับติดตาม 5


ดาวน์โหลด ppt Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google