ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยศุภชัย เก่งงาน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
2
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) คือ กระบวนการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อผลักดันให้ผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย โดยการเชื่อมโยงเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการในระดับองค์กร หน่วยงานและระดับบุคคลเข้าด้วยกัน
3
แนวทาง PMS ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
หนังสือกรมควบคุมโรค ที่ สธ /ว3357 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2559 1. การบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรคให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลของบุคลากรกรมควบคุมโรค 2. ข้าราชการและพนักงานราชการทุกคน ดำเนินการบริหารผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online) ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด 3. สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ .ศ.2560
4
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล
การปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค
5
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค
ข้าราชการ พนักงานราชการ ฉบับปัจจุบัน หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ.2559 หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานราชการทั่วไป พ.ศ.2559 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2559 เพื่อใช้ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รอบที่ 1 เป็นต้นไป จนกว่าจะมีประกาศฉบับใหม่ Download เอกสารได้ที่เว็บไซด์ กองการเจ้าหน้าที่ หัวข้อ “PMS กรมควบคุมโรค”
6
1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน
รอบการประเมิน แบ่งออกเป็น 2 รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป รอบที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน
7
ต้นรอบการประเมิน ผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน ต้องกำหนดข้อตกลงร่วมกัน เกี่ยวกับการมอบหมายงานและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดตัวชี้วัดหรือหลักฐานบ่งชี้ความสำเร็จของงานอย่างเป็นรูปธรรม และความเหมาะสมกับลักษณะงาน ให้พิจารณา ถ่ายทอดตัวชี้วัดจากบนลงล่างเป็นหลักก่อน กรณีที่ไม่อาจดำเนินการได้หรือไม่เพียงพอ อาจเลือกวิธีการกำหนดตัวชี้วัดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธี
8
ผู้ประเมิน อธิบดี รองอธิบดี ผู้อำนวยการ รองอธิบดี
ผู้ทรงคุณวุฒิ หัวหน้าหน่วยงานที่ขึ้นตรงฯ ผู้อำนวยการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา ข้าราชการจากหน่วยงานอื่นภายในกรมเดียวกันที่มาปฏิบัติราชการอยู่ด้วย * อาจจัดทำหนังสือมอบหมายผู้บังคับบัญชาอื่นๆ ให้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา
9
องค์ประกอบการประเมิน
องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน ผลสัมฤทธิ์ของงาน 80 คะแนน องค์ประกอบการประเมิน สมรรถนะ 20 คะแนน * ข้าราชการทดลองราชการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 50 คะแนน และสมรรถนะ 50 คะแนน ** พนักงานราชการ ไม่มีทดลองราชการ
10
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ผลสัมฤทธิ์ของาน 80 % งานตามยุทธศาสตร์/คำรับรอง
งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย สัดส่วนน้ำหนักคะแนนให้อยู่ในดุลพินิจ ของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน * น้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดทุกตัวรวมกัน = 100
11
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ
สมรรถนะ 20% 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency)
12
ระดับสมรรถนะ ตำแหน่งประเภทวิชาการ
13
ระดับสมรรถนะ(ต่อ) ตำแหน่งประเภททั่วไป
14
ระดับสมรรถนะ(ต่อ) พนักงานราชการ
15
ระหว่างรอบการประเมิน
“ผู้ประเมิน ให้คำปรึกษา แนะนำผู้รับการประเมิน เพื่อการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา เพื่อนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมหรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการตามเป้าหมาย”
16
สิ้นรอบการประเมิน ให้ผู้ประเมิน ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และข้อตกลงที่ได้ประกาศไว้ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ต้องมีความชัดเจนมีหลักฐาน และให้เป็นไปตามแบบประเมินผลการปฏิบัติราชการที่กรมควบคุมโรคกำหนด วิธีประเมินให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารงานบุคคลหน่วยงาน แต่ ต้องเป็นวิธีเดียวกันทั้งหน่วยงาน โดยอย่างน้อยให้ผู้รับการประเมินประเมินตนเองก่อน แล้วจึงสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน
17
“ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามข้อตกลง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ที่จัดทำไว้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน “ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามข้อตกลง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ที่จัดทำไว้ ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน เปรียบเทียบกับผลงานที่ผู้รับการประเมินทำได้จริง” ข้อตกลง ที่ทำไว้ ผลงาน ที่ทำได้จริง คะแนนผลการประเมิน
18
Functional Competency
การประเมินสมรรถนะ “ประเมินสมรรถนะตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด โดยให้ประเมินตั้งแต่ระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวังตามมาตรวัดสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ที่กรมควบคุมโรคกำหนด” Core Competency (6 ตัว ตัวละ 10 คะแนน) Functional Competency (2 ตัว ตัวละ 20 คะแนน)
19
ระดับผลการประเมิน ดีเด่น (95-100 คะเเนน) ดีเด่น (90-100 คะเเนน)
ข้าราชการ พนักงานราชการ ดีเด่น ( คะเเนน) ดีมาก ( คะเเนน) ดี ( คะเเนน) พอใช้ ( คะเเนน) ต้องปรับปรุง (น้อยกว่า 50 คะเเนน) ดีเด่น ( คะเเนน) ดีมาก ( คะเเนน) ดี ( คะเเนน) พอใช้ ( คะเเนน) ต้องปรับปรุง (น้อยกว่า 65 คะเเนน)
20
การแจ้งผลการประเมิน “ให้ผู้ประเมิน แจ้งผลการประเมินให้ผู้รับการประเมินทราบเป็นรายบุคคล โดยผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมิน กรณีที่ผู้รับการประเมินไม่ยินยอมลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมิน ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญอย่างน้อยหนึ่งคนในหน่วยงานลงลายมือชื่อเป็นพยานว่าได้มีการแจ้งผลการประเมินดังกล่าวแล้ว”
21
นำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ การเลื่อนเงินเดือน การพัฒนาบุคลากร นำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ เพิ่มพูนประสิทธิภาพการ ปฏิบัติราชการ ประกอบการตัดสินใจ งาน HR ต่างๆ การให้ออกจากราชการ** * ข้าราชการ ผลการประเมินอยู่ในระดับต้องปรับปรุง 2 รอบการประเมินติดต่อกัน * พนักงานราชการ คะแนนเฉลี่ยของผลการประเมิน 2 ครั้งติดต่อกันต่ำกว่าระดับดี ให้ทำความเห็นสั่งเลิกจ้าง
23
การบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากร
กรมควบคุมโรคผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online)
24
PMS Online คืออะไร
25
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
จำนวนการใช้งาน PMS Online ของบุคลากรกรม “มีแนวโน้มลดลง” ขาดการกำกับ ติดตาม PMS ไม่ได้เป็นตัวชี้วัด ตามคำรับรอง ขาดการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
26
การกำกับ ติดตาม และกระตุ้นให้บุคลากรทุกคน
ดำเนินการบริหารผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 สรุปผลการวางแผนการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ - รอบที่ 1 : 31 มกราคม 2560 - รอบที่ 2 : 30 เมษายน 2560 ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 1. กำกับ ติดตาม และสรุปผลโดยกลุ่มพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน การให้ รางวัล 2. กระตุ้นในระดับนโยบาย โดยให้กองการเจ้าหน้าที่ รายงานผลที่ประชุมผู้บริหารกรม ครั้งที่ 2 สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ - รอบที่ 1 : 31 มีนาคม 2560 - รอบที่ 2 : 30 กันยายน 2560
27
3. สิ้นรอบ รอบที่ 1 มี.ค. 60 รอบที่ 2 ก.ย. 60 1. ต้นรอบ รอบที่ 1 ต.ค ม.ค. 60 รอบที่ 2 เม.ย. – พ.ค. 60 2. ระหว่างรอบ รอบที่ 1 ต.ค มี.ค. 60 รอบที่ 2 เม.ย. –ก.ย. 60
28
กรอบระยะเวลาดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ต้นรอบการประเมิน : วางแผนการปฏิบัติงาน (Planning) รอบที่ 1 รอบที่ 2 1.กรมและหน่วยงานสื่อสารชี้แจง แนวทาง PMS ปี 60 ธ.ค. 59 เม.ย. 60 2.ข้าราชการและพนักงานราชการทุกคน วางแผนการปฏิบัติงาน มอบหมายงาน กำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และสมรรถนะ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online) ธ.ค. 59 – ม.ค.60 เม.ย. 60 3. ผู้รับผิดชอบ PMS ของหน่วยงาน สรุปผลการดำเนินงานวางแผนการปฏิบัติงานของข้าราชการและพนักงานราชการในหน่วยงาน ส่งกองการเจ้าหน้าที่ ม.ค.60 พ.ค. 60
29
กรอบระยะเวลาดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (ต่อ)
ระหว่างรอบการประเมิน : ติดตามและพัฒนา (Monitor & Develop) รอบที่ 1 รอบที่ 2 1. ผู้รับการประเมินรายงานผลการดำเนินงาน โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online) ธ.ค. 59 – มี.ค.60 เม.ย. – ก.ย.60 2. ผู้ประเมินติดตามและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน โดยบันทึกข้อมูล ผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online)
30
กรอบระยะเวลาดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (ต่อ)
รอบที่ 1 รอบที่ 2 สิ้นรอบการประเมิน : ประเมินผลการปฏิบัติงาน (Appraise) 1. ผู้รับการประเมินประเมินตนเองในส่วนของสมรรถนะผ่านระบบออนไลน์ สัปดาห์ 1-2 ของ มี.ค.60 สัปดาห์ 1-2 ของ ก.ย.60 2. ผู้ประเมินประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการและพนักงานราชการทุกคน ผ่านระบบออนไลน์ 3.ผู้รับผิดชอบระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สรุปผลการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของข้าราชการและพนักงานราชการในหน่วยงาน เสนอคณะกรรมการ บริหารงานบุคคลของหน่วยงาน สัปดาห์ 3 ของ มี.ค.60 สัปดาห์ 3 ของ ก.ย.60 4. คณะกรรมการบริหารงานบุคคล พิจารณากลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของ ข้าราชการและพนักงานราชการในหน่วยงาน 5. ผู้ประเมินแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานให้ผู้รับการประเมินทราบ สัปดาห์ 4 ของ มี.ค.60 สัปดาห์ 4 ของ ก.ย.60 6. ผู้รับการประเมินรับทราบผลการประเมินหรือทักท้วง/ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี) 7. รับผิดชอบระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานสรุปผลการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของข้าราชการและพนักงานราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานพร้อมปัญหา อุปสรรคส่งให้กรม
31
การวางแผนการปฏิบัติงาน
32
กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติงาน 1 กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2 กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 3 กำหนดสมรรถนะ
33
กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติงาน 1 กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
34
ผู้รับการประเมิน เลือกผู้ประเมินใน PMS Online
กำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้รับการประเมิน เลือกผู้ประเมินใน PMS Online
35
กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติงาน 2 กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
36
กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
ผลสัมฤทธิ์ของาน 80 % งานตามยุทธศาสตร์/คำรับรอง งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย สัดส่วนน้ำหนักคะแนนให้อยู่ในดุลพินิจของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน * น้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดทุกตัวรวมกัน = 100
37
แบบมอบหมายงาน กำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย
การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย(ต่อ) แบบมอบหมายงาน กำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดอ้างอิง น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย
38
ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายใน PMS Online
การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย(ต่อ) ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายใน PMS Online
39
ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติงาน
3 กำหนดสมรรถนะ
40
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ) สมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรค PMS+IDP IDP
สมรรถนะหลัก (Core Competency) PMS+IDP สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) IDP สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency)
41
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ) 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency) ประเมินคนละ 7 สมรรถนะ ตามสายงาน/ตำแหน่ง (ไม่คิดคะแนน)
42
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
43
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
44
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
45
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
46
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
47
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
48
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
49
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
50
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
51
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ)
52
ผู้รับการประเมินกำหนดสมรรถนะใน PMS Online
กำหนดสมรรถนะ (ต่อ) ผู้รับการประเมินกำหนดสมรรถนะใน PMS Online
53
การติดตามผลการปฏิบัติงาน
54
(Tow-Way Communication)
การติดตามผลการปฏิบัติงาน ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน การสื่อสารแบบสองทาง (Tow-Way Communication) รายงานผลการดำเนินการ ขอคำแนะนำ/ปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา บันทึกผลสำเร็จของงาน สื่อสารอย่างเปิดเผยถึงความก้าวหน้าและปัญหาที่พบ ติดตามและให้คำปรึกษาเพื่อผลักดันงานให้สำเร็จ บันทึกผลงาน พฤติกรรม แจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงเป้าหมายที่เปลี่ยนแปลง (ถ้ามี) ส่งเสริมพฤติกรรมการทำงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิผล
55
การติดตามผลการปฏิบัติงาน
ผู้รับการประเมินรายงานผลการดำเนินงาน และผู้ประเมินติดตามผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมินใน PMS Online
56
การพัฒนา (Development)
57
การพัฒนา ผู้ประเมิน ผู้รับการประเมิน
ชี้แจงความสำคัญและประโยชน์ที่ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับจากการพัฒนา คิดหาวิธีพัฒนาความสามารถและผลงานของผู้ปฏิบัติงาน ติดตามผลการพัฒนาผู้ปฏิบัติงาน รับฟังและขอคำแนะนำ/ปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา สื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ชี้แจงให้ผู้บังคับบัญชาเข้าใจ กรณีไม่สามารถปฏิบัติงานตามแนวทางการพัฒนาที่กำหนดขึ้นได้ ผู้รับการประเมิน
58
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
59
ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 2 ประเมินสมรรถนะ 3 ให้ความเห็นในการพัฒนา 4 ยืนยันและแจ้งผลการประเมิน 5 พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
60
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
61
ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานใน PMS Online
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน (ต่อ) ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานใน PMS Online 1 2 3
62
ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานใน PMS Online
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานใน PMS Online
63
ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2 ประเมินสมรรถนะ
64
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
การประเมินสมรรถนะ 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency) ประเมินคนละ 7 สมรรถนะ ตามสายงาน/ตำแหน่ง (ไม่คิดคะแนน)
65
สมรรถนะหลัก + สมรรถนะตามภารกิจกรมควบคุมโรค
การประเมินสมรรถนะ สมรรถนะหลัก + สมรรถนะตามภารกิจกรมควบคุมโรค ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 8 สูตรคำนวณ = คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง = 8 ÷ 2 = 4 นำไปบันทึกใน PMS Online
66
สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน
การประเมินสมรรถนะ สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 1.5 สูตรคำนวณ = (คะแนนรวม × คะแนนเต็มใน PMS Online) ÷ ระดับที่คาดหวัง = (1.5 × 5) ÷ 2 = 3.75 นำไปบันทึกใน PMS Online
67
ผู้ประเมิน และผู้รับการประเมิน บันทึกคะแนนใน PMS Online
การประเมินสมรรถนะ ผู้ประเมิน และผู้รับการประเมิน บันทึกคะแนนใน PMS Online กรณีสมรรถนะตัวใด ได้คะแนนไม่เต็มให้ผู้ประเมินระบุพฤติกรรมที่ไม่ผ่านการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินทราบช่องว่างของสมรรถนะ (Gap-) ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน
68
ให้ความเห็นในการพัฒนา
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3 ให้ความเห็นในการพัฒนา
69
ผู้ประเมินให้ความเห็นการพัฒนาใน PMS Online
70
ยืนยันและแจ้งผลการประเมิน
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 4 ยืนยันและแจ้งผลการประเมิน
71
ผู้ประเมินดูภาพรวมคะแนนการประเมินใน PMS Online
ยืนยันและแจ้งผลการประเมิน ผู้ประเมินดูภาพรวมคะแนนการประเมินใน PMS Online
72
ผู้ประเมิน ยืนยันและแจ้งผลการประเมินใน PMS Online
73
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
กระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 4 พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
74
ผู้รับการประเมิน สามารถเห็นผลการประเมินใน PMS Online
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล ผู้รับการประเมิน สามารถเห็นผลการประเมินใน PMS Online
75
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
ผู้รับการประเมิน หรือผู้ประเมิน หรือผู้ดูแลระบบระดับหน่วยงาน พิมพ์แบบสรุปผลการประเมินใน PMS Online เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินและเก็บไว้เป็นหลักฐาน
76
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
ผู้ดูแลระบบระดับหน่วยงานพิมพ์แบบรายงานสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการภาพรวมของหน่วยงานใน PMS Online
77
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
ผู้ดูแลระบบระดับหน่วยงานพิมพ์แบบรายงานสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการภาพรวมของหน่วยงานใน PMS Online R0901 รายงานผลการประเมิน
78
พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน/รายงานสรุปผล
ผู้ดูแลระบบระดับหน่วยงานพิมพ์แบบรายงานสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการภาพรวมของหน่วยงานใน PMS Online R0902 รายงานแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
79
การให้รางวัล การให้ รางวัล
80
การให้รางวัล รูปแบบการให้รางวัล รางวัลที่ไม่เป็นตัวเงิน
คำกล่าวชมเชย การประกาศรายชื่อยกย่องผู้มีผลงานในระดับดีเด่น – ดีมาก การพัฒนาในรูปแบบต่างๆ รางวัลที่เป็นตัวเงิน การเลื่อนเงินเดือนตามผลงาน การให้เงินรางวัล การให้ทุนต่างๆ การให้ รางวัล
82
กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค
โทร หรือ 3049
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.