ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
พ.ร.บ.โรคติดต่อพ.ศ.2558 นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
2
กฎอนามัยระหว่างประเทศ (Internal Health Regulations :IHR)
วัตถุประสงค์: เพื่อป้องกัน ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพและภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข พ.ค 2548 สมาชิกองค์การอนามัยโลกลงมติรองรับกฎอนามัยระหว่างประเทศฉบับใหม่ (IHR2005)
3
กฎอนามัยระหว่างประเทศ (Internal Health Regulations :IHR)
กฎอนามัยฯฉบับแรก พ.ศ.2512 (1969) ประเทศไทยนำข้อตกลงมากำหนดใน พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ และ พ.ร.บ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎอนามัยฯฉบับใหม่ จะช่วยป้องกันการใช้โรคติดต่อระหว่างประเทศในการกีดกันทางการค้า ปกปิดข้อมูล การใช้มาตรการที่รุนแรงเกินความจำเป็นเช่น การกักตัว การห้ามเข้าประเทศ การละเมิดสิทธิ ส่วนบุคคล ทุกประเทศสมาชิกจะต้องพัฒนา สร้างสมรรถนะหลักของประเทศในการดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขภาวะ ฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขทั้งในและระหว่างประเทศ
4
IHR 2005 PART I; Principle (ม.1-4) หลักเกณฑ์ NIHR Focal point (ม.4) PART IV ; PoE (ม.19-22) บทบาทเจ้าหน้าที่ข้อปฏิบัติ PART VII ; Charge(ม.40-41) - ค่าธรรมเนียม PART II; Information&Response (ม.5-14) การเฝ้าระวัง การแจ้งเหตุ ข้อมูล (ม.5-11) การพิจารณา PHEIC ความร่วมมือแก้ปัญหา (ม.12-14) PART V ; Public Health Measures (ม.23-34) มาตรการที่ PoE พาหนะ ผู้เดินทางที่อยู่ภายใต้การสังเกต (ม.30) ผู้เดินทางสินค้าพื้นที่ขนถ่ายสินค้า ที่ PoE (ม.31-34) PART VIII ; Implementations (ม.42-46) การบังคับใช้มาตรการความร่วมมือ การปฏิบัติต่อข้อมูลส่วนบุคคล การขนส่งชีววัตถุ เคมี เพื่อการตรวจวินิจฉัย PART III; Recommendations (ม.15-18) หลักเกณฑ์ คำแนะนำประจำ ชั่วคราว PART VI ; Documents (ม.35-39) เอกสารรับรองต่างๆ เรือ เครื่องบิน สุขาภิบาลเรือ PART IX ; IHR Experts(ม.47-66) คกก. ภาวะฉุกเฉิน คกก. วิชาการ การรายงานการปรับปรุงแก้ไข การตกลงข้อขัดแย้ง และข้อบังคับระหว่างประเทศอื่นๆ สมาชิกใหม่ การปฏิเสธ การสงวนสิทธิ การแจ้งเวียน เอกสารตันฉบับ Appendix 1-2 - Core Capacity, เครื่องมือตัดสินใจ PHEIC, เอกสารรับรอง พาหนะ,พาหะนำโรค,เอกสารรับรองวัคซีนและการป้องกันอื่นๆ,ข้อกำหนดวัคซีนยาป้องกันอื่นๆ,ตัวอย่างเอกสาร,เอกสารเครื่องบิน Annex 1-9
5
WHO Coordinate จุดประสานงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ สมรรถนะหลัก
กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ (2005) สมรรถนะหลัก กฎหมายและนโยบาย กลไกการประสานความร่วมมือ การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การเตรียมความพร้อมในการรองรับภัยฉุกเฉินด้านสาธารณสุข การสื่อสารความเสี่ยง การพัฒนาบุคลากร ด้านห้องปฏิบัติการ โรคและภัยคุกคาม โรคติดเชื้อ โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ความปลอดภัยด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านสารเคมี เหตุการณ์จากกัมมันตภาพรังสี การควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศที่ ช่องทางเข้า-ออกประเทศ WHO Coordinate
6
ความเชื่อมโยงโครงสร้างของหน่วยงานตาม พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรี พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะทำงานประจำ ช่องทางเข้าออก เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการ ด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ประชาชน กฎอนามัยระหว่างประเทศ ความเชื่อมโยงระหว่างฝ่ายนโยบาย ฝ่ายปฏิบัติ และฝ่ายวิชาการ สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ และเชื่อมโยงกับองค์กรนานาชาติ เชื่อมโยงกลไกการจัดการสาธารณภัยของประเทศ องค์กรปกครองท้องถิ่น และภาคเอกชนด้านการแพทย์และสาธารณสุข เจ้าบ้าน/แพทย์ ที่ทำการรักษา สถานพยาบาล สถานที่ชันสูตร ทางห้องปฏิบัติการ สถานประกอบการ สถานที่อื่นๆ องค์การอนามัยโลก องค์กรระหว่างประเทศ ด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
7
กลไกการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรี ออกกฎกระทรวง/ระเบียบ/ประกาศ โรคติดต่ออันตราย/โรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง เขตติดโรค (ต่างประเทศ) จพง.ควบคุมโรคติดต่อ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ คกก. โรคติดต่อแห่งชาติ กำหนดนโยบาย/แนวทางปฏิบัติ เห็นชอบแผนปฏิบัติการจังหวัด ติดตามประเมินผลของหน่วยงาน ให้คำปรึกษาและคำแนะนำต่างๆ ตั้ง คกก. ด้านวิชาการ ให้คำแนะนำรมต. ในการประกาศโรคติดต่ออันตราย/โรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง/ ด่านควบคุมโรคติดต่อ คกก. โรคติดต่อจังหวัด / กทม. จัดทำแผนปฏิบัติการจังหวัด ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ สนับสนุนการดำเนินงานภายในจังหวัด ติดตามประเมินผลการทำงาน จัดตั้งหน่วยงานปฏิบัติการควบคุม โรคติดต่อ คณะทำงานประจำ ช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการ ช่องทางเข้าออก จัดทำแผนเตรียม ความพร้อมรับ สถานการณ์ฉุกเฉิน จัดทำแผนติดต่อสื่อสาร ดำเนินการเกี่ยวกับ การป้องกันควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศ คกก. ด้านวิชาการ ให้คำแนะนำรัฐมนตรี/อธิบดี : ประกาศเขตติดโรค (ต่างประเทศ) : ประกาศโรคระบาด (ในประเทศ) กรมควบคุมโรค สำนักงานเลขานุการ คกก. โรคติดต่อแห่งชาติ/ด้านวิชาการ หน่วยงานกลางด้านโรคติดต่อของประเทศ จัดทำแผนปฏิบัติการภาพรวม ศูนย์ข้อมูลโรคติดต่อ ประสานการปฏิบัติการ ติดตามประเมินผล ประกาศโรคระบาดในประเทศ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ / จพง. ควบคุมโรคติดต่อ - ดำเนินการ เฝ้าระวัง/ป้องกัน/สอบสวน และควบคุมโรคติดต่อ อื่นๆ ค่าทดแทน เครื่องหมาย / เครื่องแบบ / บัตร บทลงโทษ
8
(ร่าง) ระบบ / แผนปฏิบัติการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ
ข้อมูลจากหน่วยงาน, แหล่งข้อมูลอื่น ทั้งภายในและภายนอกประเทศ คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กำกับนโยบาย/แผนปฏิบัติการภาพรวม กรมควบคุมโรค : ระบบเฝ้าระวัง : รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ ประเมิน เสนอทางเลือกตัดสินใจ คกก.โรคติดต่อจังหวัด / คกก.โรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ภัยระดับ๒ หน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคติดต่อ คณะทำงานประจำช่องทาง ภัยระดับ๑ ประเมินเหตุการณ์ความรุนแรง ระดับ๑ : ภัยขนาดเล็ก รับผิดชอบโดย นายอำเภอ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ระดับ๒ : ภัยขนาดกลาง รับผิดชอบโดย ผู้ว่าราชการจังหวัด คกก. โรคติดต่อจังหวัด ระดับ๓ : ภัยขนาดใหญ่ รับผิดชอบโดย รมต. มหาดไทย รมต. สาธารณสุข ระดับ๔ : ภัยมีความรุนแรงอย่างยิ่ง รับผิดชอบโดย นายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง
9
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ....
ตารางเปรียบเทียบสาระสำคัญ ระหว่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... ลำดับ สาระสำคัญ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... หมายเหตุ 1 ประเภทของโรคติดต่อ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ - โรคติดต่อ - โรคติดต่อต้องแจ้งความ - โรคติดต่ออันตราย แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ - โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง - โรคระบาด เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคติดต่อในปัจจุบัน 2 คณะกรรมการ/คณะทำงาน - - คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ - คณะกรรมการด้านวิชาการ - คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด - คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร - คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก เพื่อให้การกำหนดนโยบาย แผนปฏิบัติการ หรือแนวทางการปฏิบัติ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อเป็นระบบยิ่งขึ้น 3 กลไกการเฝ้าระวังโรคติดต่อ เจ้าบ้าน/สถานพยาบาล/สถานที่ชันสูตร แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่/เจ้า พนักงานสาธารณสุข เจ้าบ้าน/สถานพยาบาล/สถานที่ชันสูตร/สถานประกอบการ แจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ แจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/ กทม. แจ้งให้กรมควบคุมโรคทราบทันที เพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และทันต่อสถานการณ์ ของโรค ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค
10
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ....
ตารางเปรียบเทียบสาระสำคัญ ระหว่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... ลำดับ สาระสำคัญ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... หมายเหตุ 4 การประกาศโรคระบาด - ให้อธิบดีมีอำนาจประกาศชื่อ อาการสำคัญ และสถานที่ที่มีการระบาดเกิดขึ้น และมีอำนาจประกาศยกเลิกเมื่อสภาวการณ์ของโรคสงบลง เพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และการสอบสวนโรค มีความรวดเร็ว ทันสถานการณ์ และเป็นระบบ 5 เขตติดโรค ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือ เมืองใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคติดต่ออันตราย ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือ เมืองใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคติดต่ออันตรายหรือเขตโรคระบาด 6 หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ อย่างน้อยอำเภอละหนึ่งหน่วย 7 หน่วยงานกลางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรคติดต่อ ให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานกลางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรคติดต่อ และเป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ/กรรมการวิชาการ เพื่อให้การประสานงานการทำงานของทุกภาคส่วนมีความชัดเจน เป็นระบบ และสอดคล้องกับ กฎอนามัยระหว่างประเทศ ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค
11
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ....
ตารางเปรียบเทียบสาระสำคัญ ระหว่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... ลำดับ สาระสำคัญ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... หมายเหตุ 8 การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล - เปิดเผยเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกำหนด การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลต้องเป็นไปเท่าที่จำเป็น เฉพาะเพื่อการคุ้มครองป้องกันสุขภาพอนามัยของสาธารณชน 9 การชดเชย ความเสียหาย ชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรคติดต่อตามความจำเป็น กรณีเกิดความเสียหายจากการเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรคติดต่อ ให้ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นตามความจำเป็น 10 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ เป็น ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ให้รัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจประกาศให้ช่องทาง เข้าออกใดเป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศหรือยกเลิกด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เพื่อให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติเป็นผู้พิจารณาตาม ความเหมาะสม 11 คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ให้มีคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกทุก ช่องทางเข้าออกที่มีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างระหว่างประเทศ เพื่อให้การประสานงาน การทำงานของทุกภาคส่วนมีความชัดเจน เป็นระบบ และสอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค
12
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ....
ตารางเปรียบเทียบสาระสำคัญ ระหว่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ และร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... ลำดับ สาระสำคัญ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. .... หมายเหตุ 12 ผู้บังคับใช้กฎหมาย เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ เพื่อให้ชื่อตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายสอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ 13 เครื่องแบบ เครื่องหมาย บัตรประจำตัว - ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจำตัวสำหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดงตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นไปอย่างสะดวกและคล่องตัว และเพื่อให้ประชาชนเชื่อมั่นว่า ผู้นั้นเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจริง 14 บทกำหนดโทษ ต่ำสุด - ปรับไม่เกิน 2,000 บาท สูงสุด - จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท ต่ำสุด - ปรับไม่เกิน ๑0,000 บาท สูงสุด - จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน 15 อำนาจในการเปรียบเทียบบรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ - กรณีโทษปรับสถานเดียวหรือโทษจำคุกไม่เกิน หนึ่งปี ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอำนาจเปรียบเทียบได้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติกำหนด เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างรวดเร็ว คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ศูนย์กฎหมาย กรมควบคุมโรค
13
องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
ประเภทของคกก./คทง. มาตรา 11 มาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 26 มาตรา 23 คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ (30 คน) คกก.วิชาการ (ไม่เกิน 8 คน) คกก.จังหวัด (~18 คน) คกก.กรุงเทพฯ (~๒๒ คน) คทง.ช่องทางเข้าออก (~8 คน) ประธาน รมว.กระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ (๔) ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ ช่องทางเข้าออกนั้น กรรมการโดยตำแหน่ง 1. ปลัดกระทรวงกลาโหม 2. ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ 3. ปลัดกระทรวงคมนาคม 4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 5. ปลัดกระทรวงแรงงาน 6. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 7. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา 9. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ 10. อธิบดีกรมการแพทย์ 11. อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ 12. อธิบดีกรมปศุสัตว์ 13. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย _ 1. ปลัดจังหวัด 2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด 3. ปศุสัตว์จังหวัด 4. หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด 5. ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่รับผิดชอบในเขตจังหวัด 6. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1. ปลัดกรุงเทพมหานคร 2. ผู้แทนสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 3. ผู้แทนกรมควบคุมโรค 4. ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ 5. ผู้แทนกรมปศุสัตว์ 6. ผู้แทนกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 7. ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร 8. ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร 9. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทยในเขตกรุงเทพมหานคร 1. ผู้แทนกรมปศุสัตว์ 2. ผู้แทนกรมวิชาการเกษตร 3. ผู้แทนกรมศุลกากร 4. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 5. ผู้แทนสำนักงานตรวจ คนเข้าเมือง (ผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ใน ช่องทางเข้าออกนั้น)
14
องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
ประเภทของคกก./คทง. มาตรา 11 มาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 26 มาตรา 23 คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ (30 คน) คกก.วิชาการ (ไม่เกิน 8 คน) คกก.จังหวัด (~18 คน) คกก.กรุงเทพฯ (~๒๒ คน) คทง.ช่องทางเข้าออก (~8 คน) กรรมการโดยตำแหน่ง 14. อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 15. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 16. อธิบดีกรมอนามัย 17. อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 18. ปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในด้านการสาธารณสุข การควบคุมโรค จำนวน 4 คน โดยในจำนวนนี้ต้องแต่งตั้งจากองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่มิใช่เป็นการแสวงหาผลกำไรและดำเนินกิจกรรมด้านการสาธารณสุข อย่างน้อย 1 คน _ กรรมการจากวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้แทนแพทยสภา 2. ผู้แทนสภาการพยาบาล 3. ผู้แทนสภาเทคนิคการแพทย์ 4. ผู้แทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชน
15
องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
ประเภทของคกก./คทง. มาตรา 11 มาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 26 มาตรา 23 คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ (30 คน) คกก.วิชาการ (ไม่เกิน 8 คน) คกก.จังหวัด (~18 คน) คกก.กรุงเทพฯ (~๒๒ คน) คทง.ช่องทางเข้าออก (~8 คน) กรรมการจากรพ./ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ _ 1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์หรือผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 1 คน 2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 2 คน 3. สาธารณสุขอำเภอ จำนวน 2 คน 1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 คน 2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 คน ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ในสังกัดหน่วยงานของรัฐ ที่ดูแลรับผิดชอบช่องทาง เข้าออกนั้น จำนวนแห่งละ 1 คน กรรมการและเลขานุการ อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้อำนวยการสำนักอนามัย เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวน 1 คน กรรมการ และ ผู้ช่วยเลขานุการ 1. ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป 2. ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา ข้าราชการในสังกัดสสจ. ที่ดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรค จำนวนไม่เกิน 2 คน ข้าราชการในสังกัดสำนักอนามัยที่ดำรงตำแหน่ง ในระดับไม่ต่ำกว่าผู้อำนวยการกอง จำนวนไม่เกิน 2 คน
16
องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อฉบับใหม่
ประเภทของคกก./คทง. มาตรา 11 มาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 26 มาตรา 23 คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ (30 คน) คกก.วิชาการ (ไม่เกิน 8 คน) คกก.จังหวัด (~18 คน) คกก.กรุงเทพฯ (~๒๒ คน) คทง.ช่องทางเข้าออก (~8 คน) อื่นๆ _ ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านโรคติดต่อ จำนวนไม่เกิน 7 คน กรรมการซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง 1. นายกเทศมนตรี จำนวน 1 คน 2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 1 คน 3. ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล จำนวน 1 คน 4. จังหวัดใดมีโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐอื่นนอกจาก ม. 20 (4) ให้แต่งตั้งผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐนั้น จำนวนไม่เกิน 3 คน 5. จังหวัดใดมีด่านฯ ให้แต่งตั้ง 5.1 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านฯ จำนวน แห่งละ 1 คน 5.2 ผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่านฯ จำนวน แห่งละ 1 คน 1.กรรมการซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพฯแต่งตั้ง 1.1 ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 คน 1.2. ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล จำนวน 1 คน 1.3 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในสังกัดหน่วยงานของรัฐนอกจากม. 26 (3) จำนวนไม่เกิน 5 คน 2. เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านฯ จำนวนแห่งละ 1 คน 3. ผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่านฯ จำนวนแห่งละ 1 คน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.