ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยณรงค์ศักดิ์ ติณสูลานนท์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
งานการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ( การคัดกรอง DM HT CVD ) กลุ่มงานควคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 28 พฤศจิกายน
2
ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง
เป้าหมาย ≥90 % ไตรมาส 1 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เป้าหมาย ≥90 % ไตรมาส 1 แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th ประมวลผล 28 พ.ย. 61
3
โรคความดันโลหิตสูง แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th ประมวลผล 28 พ.ย. 61
4
ความเสี่ยงระดับ1 ต่ำ < 10 %๔ 82.53 %
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVD Risk) เขตสุขภาพที่ 5 จังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2562 ผลการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในระยะ 10 ปี ข้างหน้า ความเสี่ยงระดับ1 ต่ำ < 10 %๔ 82.53 % ความเสี่ยงระดับ2 ปานกลาง 10-<20 % 14.99 % ความเสี่ยงระดับ3 สูง 20 - < 30 % 1.92 % ความเสี่ยงระดับ4 สูงมาก 30 - < 40 % 0.35 % ความเสี่ยงระดับ5 สูงอันตราย > 40% 0.22 % แหล่งข้อมูล hdcservice.moph.go.th ประมวลผล 28 พ.ย. 61
5
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง แยกรายอำเภอ ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2562
เป้าหมาย ≥ 50% ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ในกลุ่มประชาชน อายุ ปี (เฉพาะสิทธิ UC) จังหวัดราชบุรี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 เท่ากับ 29.23% ของการจัดสรรชุดตรวจ Fit test ตามเป้าหมายของ สปสช. (≈10%) โดยอำเภอที่คัดกรองได้มากที่สุด คือ สวนผึ้ง (58.60%) รองลงมา คือ จอมบึง (51.01%) บ้านโป่ง (44.41%) ตามลำดับ ส่วนอำเภอที่ดำเนินการคัดกรองแล้วแต่ยังไม่ได้บันทึกข้อมูล ได้แก่ บ้านคา (0.00%), วัดเพลง (3.35%), ปากท่อ (13.08%), บางแพ (17.99%) ตามลำดับ
6
ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แยกรายอำเภอ ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2562
เป้าหมาย > 90% ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในกลุ่มสตรีผล อายุ ปี จังหวัดราชบุรี สะสมตั้งแต่ 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 เท่ากับ 33.27% อำเภอที่คัดกรองผลงานสะสมได้มากที่สุด คือ บ้านคา (66.90%) รองลงมา คือ สวนผึ้ง (48.91%) และปากท่อ (45.21%) ตามลำดับ ส่วนอำเภอที่คัดกรองได้น้อยที่สุด คือ บ้านโป่ง (18.42%) รองลงมา คือ เมืองราชบุรี (27.09%) และบางแพ (34.46%) ตามลำดับ
7
ผลการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพ อสม. จังหวัดราชบุรี ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2562
ในปีงบประมาณ 2562 สสจ.ราชบุรี มีแผนงาน/โครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ทุกอำเภอ หลักสูตรละ 1 วัน ดังนี้ 1) หลักสูตร อสม.4.0 โดยมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีสื่อ Social อย่างรอบรู้ตามหลัก Health Literacy นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเป็นตัวอย่างแนะนำประชาชนได้ และการชวนคนไทยเลิกบุหรี่ ในโครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน จำนวน 3,557 คน (ตำบลละ 35 คน (ไม่ซ้ำกับปี 2561) 2) หลักสูตร อสม.นักจัดการสุขภาพ เพื่อขับเคลื่อนตำบลจัดการคุณภาพชีวิต (พชต.) โดยบูรณาการร่วมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ให้ครอบคลุมทุกตำบลจำนวน 104 ตำบล รวม 1,000 คน (อำเภอละ 100 คน) และพัฒนาสู่ต้นแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิต อย่างน้อย 2 ตำบลต่อจังหวัด นอกจากนี้งานสุขภาพภาคประชาชน ได้บูรณาการร่วมกับงานเฝ้าระวัง และป้องกันโรคมะเร็งเต้านม ในการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสตรี/อสม.เชี่ยวชาญ สาขามะเร็งเต้านม ซึ่งจะจัดอบรมในวันที่ ธันวาคม 2561 ณ หอประชุมเทศบาลเมืองโพธาราม โดยเน้นให้มีสตรีแกนนำและ อสม.เชี่ยวชาญ สาขามะเร็งเต้านม ครอบคลุมทุกอำเภอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.