ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสว่าง พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
2
ความคาดหวังในการประชุมวันนี้
3
วัตถุประสงค์ ๓ 1 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ป้องกันการ
ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฉบับหลัก(SRM)ปี สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นปีฉบับปฏิบัติการ(SLM) 2 ๓ แผนปฏิบัติการ
4
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
๑ ทีมพาทำ ทีมทำ ๒ ทีมสนับสนุน ๓
5
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น
Goal วัยรุ่นจะได้อะไรจะเป็นอย่างไร (ใครต้องทำ)ภาคี/เครือข่าย/หุ้นส่วน/ประชาสังคม (ระบบงาน)ระบบอะไรบ้างที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ ลักษณะการทำงานเป็นอย่างไร(PIRAB)
6
ความสำคัญของการจัดทำ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
7
ความจำเป็นของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แบบบูรณาการ
1. ปัญหาของวัยรุ่น เป็นปัญหาที่ซับซ้อน การแก้ปัญหาต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกฝ่าย 6. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีและเครือข่าย 2. แผนงานมีความเชื่อมโยงในทุกระดับทุกภาคส่วน ความจำเป็นของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แบบบูรณาการ 3. เพื่อกำหนดบทบาทของภาคีและเครือข่ายร่วมกัน 5. เพื่อให้เกิดการบูรณาการทรัพยากร และงาน 4. เพื่อให้พันธกิจและยุทธศาสตร์ที่กำหนดเป็นงานของทุกคน/ทุกพื้นที่/ทุกเครือข่าย
8
การทำความเข้าใจ ปัญญาความเชื่อมั่น
เข้าใจอะไร? เพื่ออะไร ? การทำความเข้าใจ ปัญญาความเชื่อมั่น 1. ปรัชญา แนวคิดอย่างลึกซึ้ง ในงานที่รับผิดชอบ การทำความเข้าใจ การสร้างบทบาทใหม่ 2. กลุ่มเป้าหมาย อย่างลึกซึ้ง ที่พึงประสงค์ การทำความเข้าใจ การสร้างมาตรการสังคม 3. สภาวะแวดล้อม อย่างลึกซึ้ง ที่จำเป็น
9
การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM)
10
แนวคิดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
เครื่องมือที่ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามาจัดการสุขภาพด้วยตนเอง
11
เพื่อให้เกิดการ “เชื่อมโยงบูรณาการ”
ระหว่างพื้นที่/ยุทธศาสตร์ และการจัดการอย่างมีส่วน ร่วม มุ่งสู่การทำงานแบบ หลายทิศทาง มากกว่าที่เป็น แบบแนวเดียว
12
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กับการสาธารณสุขมูลฐาน
13
๑ การพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานจากรูปแบบที่เน้นการให้บริการไปเน้นที่การพัฒนา
เพื่อให้ชุมชนยืนได้ด้วยตัวเอง อันหมายถึงการสร้างสุขภาพโดยประชาชนแทนการซ่อมสุขภาพด้วยบริการ
14
๒. ส่งเสริมให้หน่วยงานทุกระดับใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ที่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพของประชาชนในระดับท้องถิ่นหรือชุมชนได้ตามความเหมาะสม
15
๓. ให้ใช้ตัวชี้วัดของแผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการติดตาม กำกับ ดูแลของสำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
16
๔. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาความสามารถของท้องถิ่นชุมชนและกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สามารถดำเนินการจัดการระบบสุขภาพชุมชนได้ด้วยการสร้างนวัตกรรม ทางกระบวนการจัดการสุขภาพ และเพิ่มทักษะการใช้ แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง
17
๕. ส่งเสริมการสร้างและบริหารจัดการนวัตกรรมในทุกระดับหลากหลายรูปแบบ ทั้งนวัตกรรมบริหารจัดการ นวัตกรรมกระบวนการและรูปแบบ บริการที่ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้
18
ทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง
กรรมการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน 2. กระบวนการบริหารจัดการ 1.สมรรถนะขององค์กร แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำลังคนของชุมชน กองทุนประกันสุขภาพตำบล 3. บทบาทภาคี (รัฐและเอกชน) 18
19
การเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนา
กระบวนการฝึกอบรม.ppt 08/04/62 การเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ทำอะไรในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน บทบาทของพันธมิตร กระบวนการบริหารจัดการ แผนที่ยุทธศาสตร์ สมรรถนะขององค์กร (คน/ข้อมูล/องค์กร) จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด จะพัฒนาอะไร ๐๘/๐๔/๖๒ 19 19
20
ตั้งต้นที่วิสัยทัศน์
“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” หัวใจของความสำเร็จคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
21
บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์
ดูแลสุขภาพของตนเองได้ ปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมประเภทต่างๆอย่างเหมาะสม ร่วมมือในการดำเนินมาตรการทางสังคม บทบาททั้งสามเป็นตัวกำหนด ยุทธศาสตร์ของภาคีต่างๆที่มีส่วนสนับสนุน กระบวนการสำคัญที่จะใช้เพื่อตอบสนอง การพัฒนาทักษะของบุคลากร ข้อมูลทางบริหารและวิชาการ การพัฒนาบริบท โครงสร้าง ผู้นำ และการทำงานเป็นทีม
22
แผนที่ทางเดินการพัฒนาตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
กระบวนการฝึกอบรม.ppt กระบวนการฝึกอบรม.ppt แผนที่ทางเดินการพัฒนาตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 08/04/62 08/04/62 เข้าใจแนวคิดของการพัฒนาในปัจจุบัน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง Strength-based Development (Output-oriented) เพื่อสนองความต้อง Need-based Development (Output-oriented) เปรียบเทียบ ผสมผสาน มองกว้าง มุ่งที่กระบวนการ เป็นการเสริมสร้าง พลังจากภายใน ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม (ระบบพัฒนาสังคม ?) มองแคบ เอาผลงานเป็นหลัก เห็นแต่ปัญหา รวมศูนย์จากภายนอก อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ (ระบบราชการทั่วไป?) ชุมชนเปลี่ยนแปลง สู่ความยั่งยืน เกิดจิตสำนึก พึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี เน้นผลงานไม่เน้นกระบวนการ เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน ๐๘/๐๔/๖๒ วรรรดี จันทรฺศิริ Thapanaporn Singhagowin 22 22
23
ยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ
แนวทางใหม่ แนวทางเดิม สร้างบทบาทของประชาชน สร้างเทคโนโลยีของประชาชน สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน
24
สร้างระบบการดูแลสุขภาพ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว/ชุมชน
กรอบการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของประชาชน ลดปัจจัยเสี่ยง สร้างปัจจัยเสริม สร้างระบบการดูแลสุขภาพ สร้างพฤติกรรมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ นโยบายสาธารณะ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว/ชุมชน พัฒนาทักษะส่วนบุคคล ปรับระบบบริการ วรรณดี จันทรศิริ 24 วรรณดี จันทรศิริ
25
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างบทบาทของประชาชน การสร้างบทบาท ใหม่ของคนในสังคม สอดรับกันด้วย แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1. สมรรถนะขององค์กร 2.กระบวนการบริหารจัดการ 3.บทบาทของภาคี
26
ประชาชน/ชุมชนมี บทบาทร่วมในการพัฒนา
องค์ประกอบของการพัฒนาสุขภาพประชาชน ประชาชน/ชุมชนมี บทบาทร่วมในการพัฒนา ภาคีเครือข่ายมีบทบาทที่เข้มแข็ง การบริหารจัดการดี พื้นฐานองค์กร/ชุมชนแข็งแรง
27
กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน
1 อบรมแผนที่ ยุทธศาสตร์/จัดการ นวัตกรรม จัดระบบวางแผนสุขภาพชุมชน จัดระบบสื่อสาร 3 สร้างนวัตกรรมกระบวนการ PP /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น 2 ใช้กลยุทธ์พัฒนาบทบาทประชาชน สร้างและบริหารเครือข่าย จัดระบบข้อมูล 27
28
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
๐๘/๐๔/๖๒ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
29
มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน)
ประชาชนทุกคน ครอบครัว ชุมชน/สังคม
30
มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภาคี)
องค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน ท้องถิ่น ประชาสังคม
31
มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ)
การบริหารจัดการที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ
32
มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
คน ข้อมูล บรรยากาศ/ในชุมชน
33
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ประชาชน ภาคี กระบวน พื้นฐาน
34
องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์
(เจ้าภาพ)
35
คนวัยทำงาน วัยทองมีลักษณะอย่างไร
ความคาดหวัง การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยทำงาน วัยทองภายใน 4 ปี ท่านอยากเห็น คนวัยทำงาน วัยทองมีลักษณะอย่างไร และบทบาทอย่างไร ๐๘/๐๔/๖๒
36
ความคาดหวัง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ท่านอยากเห็นวัยรุ่นเป็นอย่างไร วัยรุ่น มีลักษณะอย่างไร และบทบาทอย่างไร
37
1 2 3 4 5 6 7 เปิดงาน ใช้ ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ กำหนดจุดหมายปลายทาง 2 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 3 สร้าง ใช้ สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) 4 สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด 5 6 สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) 7 เปิดงาน
38
ขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
2.กำหนดจุดหมายปลายทาง เราจะไปไหน? 3. เขียนแผนที่การเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทาง 1.วิเคราะห์สถานการณ์ เราอยู่ที่ไหน?
39
วิสัยทัศน์ วัยรุ่นมีความตระหนักในคุณค่าของตัวเอง
มีเป้าหมายในชีวิต มีทักษะปฏิเสธ รู้จักวิธี หลีกเลี่ยงและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ รู้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ และอยู่ใน ครอบครัวที่เข้มแข็ง
40
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์/บริบท
41
ภาคี ประชาชน พื้นฐาน กระบวนการ สิ่งที่ดี สิ่งที่ดี
ขั้นตอนการทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Map) 1. วิเคราะห์สถานการณ์ สิ่งที่ดี สิ่งที่ไม่ดี สิ่งที่อยากเห็น(ประชาชนจะได้อะไร / จะต้องมีอะไร / จะต้องแสดงบทบาทอะไร) สิ่งที่ดี สิ่งที่ไม่ดี กระบวนการ / การบริหารจัดการขององค์กร ที่จะทำให้ภาคีแสดงบทบาทได้ ประชาชน กระบวนการ วิเคราะห์ สถานการณ์ สิ่งที่ดี/สิ่งที่ไม่ดี สิ่งที่ต้องการเห็นหรือสิ่งที่องค์กรต้องเตรียมให้พร้อม(องค์กรจะเข้มแข็งต้องอาศัยอะไรเป็นพื้นฐาน) ภาคี พื้นฐาน มีภาคีอะไรบ้าง / เป็นอย่างไร สิ่งที่อยากเห็นเราคาดหวังให้ภาคี(แต่ละส่วน)แสดงบทบาทอะไร
43
ขั้นที่ 2. กำหนดจุดหมายปลายทาง
44
ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) วัยรุ่นมีความตระหนักและมีทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจเชื่อมั่นในตนเองและมีจิตอาสา 3. ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมวัยรุ่น 4. ชุมชนมีแผนงาน/โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
45
ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 1. ศธ. มีนโยบายและแนวทางการสอนเพศศึกษาที่ชัดเจน 2. สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากรและบริการที่เป็นมิตร แก่วัยรุ่น 3.กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นฯ อปท. มี ความ ตระหนักปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นบรรจุใน แผนพัฒนาตำบลและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง 4.แกนนำเครือข่ายชุมชน แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมใน การดำเนินงาน 5.พม.ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและสวัสดิการ 6. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ประชาสังคม/ท้องถิ่น บูรณาการงานร่วมกัน
46
ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ)
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการดำเนินงาน วัยรุ่น 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลที่เป็นแนวทางเดียวกัน 3. มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย 4. มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม
47
ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา)
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) 1. ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย 2. บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 3. องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน
48
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) วัยรุ่นมีความตระหนัก และมีทักษะการ ป้องกันการตั้งครรภ์ 2. วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจ เชื่อมั่นในตนเอง และมีจิตอาสา 3. ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมวัยรุ่น 4. ชุมชนมีแผนงาน/โครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 1. ศธ. มีการจักกระบวนการสอนเพศวิถี 2. สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากร และบริการที่เป็น มิตรแก่วัยรุ่น 3. ท้องถิ่น ฯ อปท. บรรจุในแผนพัฒนาตำบล และ สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงและต่อเนื่อง 4. แกนนำเครือข่ายชุมชน แกนนำผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการดำเนินงาน 5. พม.ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและสวัสดิการ 6. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ประชาสังคม/ ท้องถิ่นบูรณาการงานร่วมกัน ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการดำเนินงาน วัยรุ่น 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลที่เป็น แนวทางเดียวกัน 3. มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย 4. มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) 1. ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย 2. บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 3. องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน
49
ขั้นที่ 3. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภายใน พ.ศ
50
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภายในปี พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
วัยรุ่นมีความตระหนักและมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ ส่งเสริมกิจกรรมสร้างค่าทางเพศ กระบวนการจัดการความรู้ ส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ สร้างค่านิยมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ สร้างเครือข่ายของครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของวัยรุ่น สร้างครอบครัวเข้มแข็ง ชุมชนมีแผนงานโครงการฯ นวัตกรรม มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นในชุมชน สร้างความตระหนัก สร้างพื้นที่และส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชม มีมาตรการทางสังคม ระดับประชาชน (Valuation) ศธ.จัดกระบวนการสอนเพศวิถี ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน พัฒนาคลากรสอนเพศศึกษา พัฒนาโรงเรียนต้นแบบ สธ. สนับสนุนวิชาการและบุคลากรฯ จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สนับสนุนวิชาการ อปท. / แกนนำเครือข่ายชุมชน/แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมฯ จัดทำแผนแบบบูรณาการป้องกันการตั้งครรภ์ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น สนับสนุนการสร้างพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชน พม./หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/เครือข่ายเยาวชน/ท้องถิ่น บรูณาการฯ สนับสนุนให้เกิดโครงการเป็นรูปธรรม ติดตามตรวจสอบและประเมินผล เป็นเจ้าภาพหลักและประสานภาคีเครือข่าย (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ แสวงหาความต้องการ มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ มีคลังความรู้ มีนวัตกรรม มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม ประเมินผล มีการจัดการความรู้ จัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนา/ แก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางสร้างสื่อสารสาธารณะ พัฒนาสื่อบุคคล เนื้อหา สื่อการเรียนรู้ ให้เข้าถึงวัยรุ่น ระดับกระบวนการ ระบบข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงและการเผยแพร่ข้อมูล พัฒนาฐานข้อมูลให้ถูกต้องทันสมัยครบถ้วน บุคลากรมีสมรรถนะ แบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง องค์กรมีวัฒนธรรมที่ เอื้อต่อการทำงาน สนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ผู้บริการต้องมีระบบความคิดแบบบูรณาการ ระดับ พื้นฐาน
51
ขั้นที่ 4. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ฉบับปฏิบัติการ(SLM) ภายใน.2561
52
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฉบับปฏิบัติการ(SLM)
ภายในปี พ.ศ.2561 วัยรุ่นมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ วัยรุ่นมีความตระหนักและ มีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ ส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ KPI : อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง 13 ชุมชนมีแผนงาน โครงการฯ นวัตกรรม สร้างพื้นที่และส่งเสริม กิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชม KPI : มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศลดลง 12 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ สร้างเครือข่ายของครอบครัว KPI :จำนวนเครือข่ายครอบครัว 11 ระดับประชาชน(Valuation) อปท. / แกนนำเครือข่ายชุมชน/แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมฯ จัดทำแผนแบบบูรณาการป้องกันการตั้งครรภ์ KPI : จำนวนแผนงานโครงการที่ได้รับงบประมาณ 11 ศธ.มีนโยบายและแนวทางการสอนเพศศึกษาฯ ปรับปรุงหลักสูตรเพศศึกษา KPI : เด็กมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ 9 สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากร บริการฯ จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ห้ครอบคลุมทุกพื้นที่ KPI : จำนวนเด็กที่เข้าถึงบริการ 10 พม./หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/เครือข่ายเยาวชน/ท้องถิ่น บรูณาการฯ สนับสนุนให้เกิดโครงการให้เป็นรูปธรรม KPI : จำนวนเด็กที่เข้าร่วมในโครงการ 8 ระดับภาคี(Stakeholder) มีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการสื่อสารให้เข้าถึงวัยรุ่น KPI : วัยรุ่นมีทักษะรู้เท่าทันสื่อ 6 มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ KPI : จำนวนแผนงานโครงการ 5 มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ KPI : มีนวัตกรรม 7 ระดับกระบวนการ มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตามประเมินผล KPI : ระบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ 4 บุคลากรมีสมรรถนะ แบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร KPI : บุคลากรมีทักษะและมีสมรรถนะ 3 องค์กรมีวัฒนธรรมที่ เอื้อต่อการทำงาน สนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง KPI : มีโครงการระหว่างภาคี 2 ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย พัฒนาฐานข้อมูล KPI : มีระบบที่ถูกต้องทันสมัยเข้าใจได้ง่าย 1 ระดับพื้นฐาน
53
ขั้นตอนที่ 5 การทำแผนปฏิบัติ การสร้างนวัตกรรม ตัวชี้วัด
54
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 2. ครอบครัวมี ความรู้ ความ เข้าใจ อนามัย การเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น พัฒนาและ เสริมสร้าง สัมพันธภาพที่ดี ในครอบครัว -จัดให้มีวัน ครอบครัวใน ระดับชุมชนตาม บริบทชุมชน(ทุก อาทิตย์) -รณรงค์ให้ ครอบครัวมี กิจกรรมร่วมกัน ในวันสำคัญ ต่างๆ -สรรหาและเชิด ชูครอบครัว อบอุ่นในชุมชน -สร้างโรงเรียน พ่อแม่ ในชุมชน (เพศศึกษา/การ สื่อสารกับวัยรุ่น) จำนวน ครอบครัวที่มี ความอบอุ่นตาม เกณฑ์ของ ชุมชนที่กำหนด กระทรวงการ พัฒนาสังคมฯ (พม.) - ศธ. - สธ. - พม. - วธ. มท. (กระทรวง มหาดไทย) 54
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.