ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนาค สโตเกอร์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ความเป็นครู หลักและปรัชญาการศึกษา การศึกษาของไทยจากอดีต-ปัจจุบัน
ดร.ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ
2
ประวัติของการศึกษาของไทย 4 สมัย
สมัยโบราณ สมัยปฏิรูปการศึกษา สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง สมัยพัฒนาการศึกษา สมัยสุโขทัย รัชกาลที่ 5 สมัยกรุงศรีอยุธยา รัชกาลที่ 6 สมัยกรุงธนบุรี รัชกาลที่ 7 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
3
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1800-2411)
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ ) พ.ศ.1918 พ.ศ.1800 สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา รัตนโกสินทร์ตอนต้น ธนบุรี พ.ศ.2310 พ.ศ.2411 พ.ศ.2325
4
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1800-2411)
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ ) พ.ศ.1918 พ.ศ.1800 สุโขทัย สถานที่สอน – วัด สำนักราชบัณฑิต ผู้สอน – พระ พราหมณ์ กษัตริย์ ผู้เรียน – ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – ไม่มีการจัดห้องเรียน “ใครใคร่เรียนเรียน ใครใคร่สอนสอน” ไม่มีแบบเรียน สอนแบบสะกดคำ อ่าน ท่องจำ เล่าปากต่อปาก วิชาที่สอน – ธรรมะ ศาสตร์ด้านอาวุธ เวชกรรม วิชาช่าง การเรือน หลักฐานทางการศึกษา – ศิลาจารึก ไตรภูมิพระร่วง กรุงศรีอยุธยา รัตนโกสินทร์ตอนต้น ธนบุรี พ.ศ.2411 พ.ศ.2325 พ.ศ.2310
5
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1800-2411)
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ ) พ.ศ.1800 พ.ศ.1918 สถานที่สอน – วัด ราชวัง สำนักราชบัณฑิต โรงเรียน สอนศาสนามิชันนารี ผู้สอน – พระ พวกมิชชันนารี ผู้เรียน – ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – ตามแต่สมัครใจเรียน สื่อการสอน “หนังสือจินดามณี” แบบอ่าน เขียน ท่องจำ การสอนเชิงปฏิบัติ วิชาที่สอน – ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน คริสต์ศาสนา การ เรือน ภาษาไทย บาลี เขมร ฝรั่งเศส หลักฐานทางการศึกษา – พระไตรปิฎก มหาชาติคำหลวง กำสรวลศรีปราชญ์ อนิรุทธ์คำฉันท์ เป็นต้น สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ.2411 พ.ศ.2310
6
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1800-2411)
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ ) สถานที่สอน – วัด ราชสำนัก ผู้สอน – พระ ศิลปินสาขาต่างๆ เท่าที่หลงเหลือ ผู้เรียน – ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – ไม่เน้นด้านการรู้หนังสือแต่เน้นด้านศิลปะการแสดง วิชาที่สอน – ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน นาฏศิลป์ การพลศึกษา การฝึกอาวุธ หลักฐานทางการศึกษา – ตำราเท่าที่เหลือ รามเกียรติ์บางตอน อิเหนาคำฉันท์ สุโขทัย ธนบุรี พ.ศ.2411 พ.ศ.2325 พ.ศ.2310
7
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1800-2411)
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ ) พ.ศ.1918 สถานที่สอน – วัด ราชสำนัก สำนักราชบัณฑิต โรงเรียนชาย ผู้สอน – พระ ครูต่างประเทศ ผู้เรียน – ศิษย์วัด ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – เรียนตามความสมัครใจ ยังไม่มีการแบ่งชั้นเรียนแน่นอน วิชาที่สอน – การอ่านหนังสือ เลข การกวี หลักฐานทางการศึกษา – ศิลาจารึกสรรพวิทยาการต่างที่วัดพระเชตุพน ให้บุคคล ทั่วไปได้เรียนด้วยตนเอง วรรณคดีที่สำคัญ - สามก๊ก ราชาธิราช สังข์ทอง พระอภัยมณี อิเหนา พ.ศ.1800 สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ.2411 พ.ศ.2325 พ.ศ.2310
8
สรุปการศึกษาไทยสมัยโบราณ
ยึดหลักปรัชญาจิตนิยม ที่ เน้นพัฒนาการด้านจิตใจ เน้นการเข้าใจชีวิตส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรม สภาวะประเทศ เจริญรุ่งเรืองสลับกับช่วงขยายอาณานิคม วัดและรัฐเป็นศูนย์กลางประชาคม เป็นสถานที่สอน และประกอบพิธีทางศาสนา การศึกษาของสตรีไม่ได้รับการสนับสนุน นอกจากเรียนการเรือนที่บ้าน หรือในราชสำนัก
9
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ. ศ
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ.ศ ) สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย สถานที่สอน – จัดตั้งโรงเรียน แผนการศึกษา –ใช้โครงการศึกษาตามแนวคิดตะวันตก มีหลักสูตรการสอนตามระดับ หน่วยงานด้านการศึกษา – จัดตั้งกรมศึกษาธิการ กรมฝึกหัดครู ผู้สอน – ครูไทย ครูชาวต่างประเทศ การจัดการเรียนการสอน – มีการแบ่งระดับชั้นเรียน สอนการอ่านเขียนมีการสอบไล่ วิชาที่สอน – ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การคัดลายมือ การแต่งจดหมาย เลข บัญชี และวิชาช่างต่าง ๆ รัชกาลที่ 5
10
จัดตั้งกองลูกเสือหญิง เรียกว่า เนตรนารีและตั้งโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
ประกาศตั้งข้าราชการพลเรือน เพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ พรบ.ประถมศึกษาสำหรับเด็กอายุ 7 ปีต้องเรียนหนังสือ และเรียกเก็บเงินจากประชาชน 1-3 บาท ในการดำเนินการศึกษา จัดตั้งกองลูกเสือหญิง เรียกว่า เนตรนารีและตั้งโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ปรับปรุงกระทรวงธรรมการให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ 2459 2474 2453 2464 ปรับปรุงและขยายการฝึกหัดครูและประกาศใช้พรบ.โรงเรียนราษฎร์ 2461 2473 จัดตั้งกองลูกเสือหรือเสือป่าขึ้นเป็นครั้งแรก 2454 2458 ยกเลิกการเก็บเงินคนละ 1-3 บาท เปลี่ยนค่านิยมด้านอาชีพไม่ให้ มุ่งรับราชการเพียงอย่างเดียว
11
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ. ศ
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ.ศ ) สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา – ประกาศใช้โครงการศึกษาเน้นสายวิชาชีพ พ.ร.บ.ประถมศึกษา ภาคบังคับ ก.ย พ.ร.บ. โรงเรียนราษฎร์ 2461 หน่วยงานด้านการศึกษาระดับสูง – จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยจัดตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอนและวิชาที่สอน – เช่นเดียวกับสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เพิ่มวิชาการช่างมากขึ้น รัชกาลที่ 6
12
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ. ศ
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา ( รัชกาลที่ 5-7 ) ( พ.ศ ) สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา – แบ่งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายออกเป็น แผนกกลาง แผนกภาษา และแผนกวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน – ไม่มีการพัฒนาเท่าที่ควร ต้องยุบโรงเรียนจำนวนมากเพื่อตัดปัญหาด้านงบประมาณ รัชกาลที่ 7
13
สรุปการศึกษาไทยปฏิรูปการศึกษา
วางรากฐาน บังคับ เท่าเทียม ขยาย หลากหลาย อุดมศึกษา ปลูกฝัง ควบคุม วางรากฐานการจัดการศึกษาที่ครบถ้วน ควบคุมโรงเรียนเอกชน อบรมแนวคิดที่รัฐไม่ต้องการแก่เยาวชน บังคับการรู้หนังสือ อายุ 7 ปี ต้องเข้าโรงเรียน ปลูกฝังค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระ เปลี่ยนแปลงค่านิยมในการรับราชการ สร้างความเท่าเทียมของชายหญิง ทางการศึกษา ขยายการศึกษาสู่มวลชน จัดตั้งมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นบุคลากรทางการศึกษา มีวิชาทางการเรียนที่หลากหลาย
14
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475-2502)
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ ) สภาวะประเทศ – เปลี่ยนแปลงจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตย และผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาวะผู้นำ – คณะราษฎร์พัฒนาระบบการศึกษาเร่งด่วน
15
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475-2502)
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ ) การจัดระบบการศึกษา ประกาศแผนการศึกษาชาติ ประถมเป็น 6 ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย สายอาชีวศึกษาประกาศใช้ พ.ร.บ. ประถมศึกษา พ.ศ เพื่อขยายโอกาส จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นหลายแห่ง จัดตั้งศูนย์อบรมการศึกษาผู้ใหญ่ กระทรวงศึกษาธิการร่วมมือกับองค์การยูเนสโกเพื่อปรับปรุงการศึกษาไทย มีโครงการฝึกหัดครูชนบทและจัดตั้งกรมสามัญศึกษา
16
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475-2502)
3. การศึกษาไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ ) ปัญหาที่พบในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ทำให้อัตราส่วนระหว่างครูและนักเรียนไม่ได้มาตรฐาน มีผลทำให้คุณภาพผู้เรียนและด้านการเรียนการสอนลดลงอย่างมาก การสอนเป็นแบบลองผิดลองถูกเนื่องจากครูผู้สอนไม่มีประสบการณ์เพราะครูผู้สอนจบแค่ระดับมัธยมต้นและต้องออกไปสอนโรงเรียนประชาบาลทันทีโดยมิได้ผ่านการฝึกหัดครู ดังนั้นรัฐจึงได้ตั้งกรมฝึกหัดครูขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพของครูให้สูงขึ้น
17
“ แผนการศึกษาแห่งชาติ ”
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) ใช้หลักสูตรประถมศึกษา และ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร มุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน “ แผนการศึกษาแห่งชาติ ” 2542 2535 2503
18
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขพัฒนา ความไม่เสมอภาคทางการศึกษาในเด็กด้อยโอกาส คุณภาพการศึกษาที่ตกต่ำลงเนื่องจากระบบการบริหารการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ไม่เป็นเอกภาพอย่างแท้จริง ปัญหาด้านหลักสูตรที่ไม่มีจุดยืนแน่นนอนมีการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดความสับสนต่อผู้สอนและผู้เรียน ปัญหาด้านการจัดหาเทคโนโลยีทางด้านการศึกษา ความเสื่อมในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
19
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 ประกอบด้วยแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 1 – 3 มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและบุคคลเป็นหลัก เพื่อมุ่งพัฒนาคนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
20
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 4-6
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 4-6 มีการปฏิรูปการศึกษาโดยการจัดการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของพลเมือง ให้สามารถดำเนินชีวิตและทำประโยชน์แก่สังคม และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
21
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 7-8
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 7-8 เน้นพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพชีวิต สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยมีการพัฒนาบุคคล 4 ด้านคือ ด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกายและด้านสังคม
22
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีนโยบายปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
24
แนวโน้มการศึกษาไทยในยุค 4.0
การสร้าง “คน” ให้มีคุณภาพ มีวินัย มีจริยธรรม และมีขีดความสามารถมากพอในการแข่งขันกับประเทศต่างๆบนเวทีโลกได้
25
5E Health & Heart Transparency Digital Infra Market Mechanism
Curriculum Teaching High Quality Principals Health & Heart Tax Incentive for Local & International Professor English Language Capability Technology Hub R&D Young Leadership Development 5E
26
แนวโน้มการศึกษาไทยในยุค 4.0
โมเดล E5 เจาะทะลุถึง แก่นแท้ของโครงสร้างการศึกษาไทยอย่างตรงเป้า และครอบคลุมถึงการปฏิรูปประเทศในทุกๆด้าน เมื่อต้องใช้ “คน” เป็นตัวจักรสำคัญที่จะทำให้การปฏิรูปประเทศไทยประสบความสำเร็จ
27
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.