ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี 2561 16 สิงหาคม 2560
2
ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม)
ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ตัวชี้วัด ผลงานปี 58 ผลงานปี 59 ผลงานปี 60 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง เบาหวาน ร้อยละ 80 47.94 234,682/508,304 76.33 396,572/519,582 84.90 553,278/651,700 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง 44.93 278,578/619,970 72.42 460,583/636,023 85.52 451,033/527,409 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 1.63 848/52,094 อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ เป้าหมายไม่เกิน 8,940 ราย 5,683 9,410 8,216 อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 เป้าหมายไม่เกิน 23,342 ราย 11,861 23,941 20,713
3
ร้อยละการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ปี 2560
ร้อยละการควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์ ปี 2560 โรค ระดับประเทศ เขต 1 เชียงใหม่ เบาหวานที่คุมได้ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 40% ผู้ป่วยเบาหวานปี 2560 จำนวน 71,826 คน ร้อยละ 21.70 (576,350 /2,655,904 ) ร้อยละ 15.97 (41,464/259,670) ร้อยละ 16.06 (11,544/71,862 ) ความดันโลหิตสูงที่คุมได้ เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 50% ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ปี 2560 จำนวน 199,564 คน ร้อยละ 34.82 (1,943,249/5,580,176) ร้อยละ 29.45 (206,455/700,958) ร้อยละ 20.85 (41,612/199,564) ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
4
ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม)
ผลการดำเนินงาน ปี 2558 – 2560 (ข้อมูลถึงเดือนสิงหาคม) ตัวชี้วัด ผลงานปี 58 ผลงานปี 59 ผลงานปี 60 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD risk ร้อยละ 80 49.95 42,447/84,987 73.53 62,790 /85,394 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (มากกว่าร้อยละ 60) 23.82 15,831/66,453 56.15 38,668/68,868 58.18 41,806/71,862 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (มากกว่าร้อยละ 70) 25.26 16,784/66,453 50.25 34,609 /68,868 52.91 38,020 /71,862
5
ป่วยแล้วอยู่อย่างมีคุณภาพ อายุยืนยาว
เป้าหมาย NCD GAP ลดป่วยใหม่ ป่วยแล้วอยู่อย่างมีคุณภาพ อายุยืนยาว การทำงานร่วมกับความตระหนัก ภาระ ผลกระทบความรุนแรงโรค ความชัดเจนของเป้าหมาย กระบวนการทำงานและการประเมินผล สรุปบทเรียนและ สนับสนนขวัญกำลังใจคนทำงานภาระมาก ทำแล้วผลงานไม่ขึ้น HDC มาตรการ พัฒนางาน NCDs คุณภาพร่วมกับชุมชน DPAC DHB พัฒนา SOP แนวทางการทำงานให้ชัดเจนการจัดการแบ่งกลุ่มตามปิงปองจราจร 7 สีในคลินิก การสนับสนุน self care ผู้ป่วยรายบุคคลและรายกลุ่ม Self help group กลุ่มผู้ป่วยในชุมชน ขยายเครือข่าย จิตอาสา พระสงฆ์ ตัวชี้วัด ปี 2560 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ร้อยละ และเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 5 (ปี 60) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี หรือ มากกว่า 40% ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี หรือ มากกว่า 50% ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา (มากกว่าร้อยละ 60) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า (มากกว่าร้อยละ 60)
6
กลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป(Prevention) แผนการดำเนินงาน/กิจกรรม
1.การคัดกรอง เป้าหมาย>90% จังหวัดกำหนด time line การคัดกรองให้เสร็จในอย่างช้าไตรมาส 2 หลัจากนั้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ไตรมาส 1 ผลงาน 50% ไตรมาส 2 ผลงาน 50% อำเภอ จัดแผนวัสดุ,strip คัดกรองโดยงบ PPB 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย เสี่ยง>= 80% เสี่ยงสูง 100% เสี่ยงสูงเบาหวาน FBS 110 – 125 +อ้วน/กรรมพันธุ์ +pre DM >=3 ปี เสี่ยงสูงความดัน +อ้วน/กรรมพันธุ์ +pre DM >=3 ปี จังหวัด -สร้างโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมาตรฐานของจังหวัด - พัฒนาระบบการวัด ประเมิน ความสำเร็จของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อำเภอ -ประเมินปัญหากลุ่มตามลักษณะอายุ กลุ่ม พื้นที่ -จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฉพาะพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย (DM ในเด็ก ,ในโรงงาน) 3.การสื่อสารสาธารณะ จังหวัด สร้าง-สร้างสื่อบุคคล เวทีบุคคลต้นแบบ จิตอาสา พระสงฆ์ -สื่อmedia ระดับจังหวัด อำเภอ นำเนื้อหา สื่อไปเผยแพร่ กระตุ้นความตระหนัก สนับสนุนบุคคลที่เป็นอาสาสมัคร สื่อบุคคล 4.จัดการเครือข่าย สิ่งแวดล้อม - ชุมชนนำร่องการจัดการโรค NCD ชุมชนสุขภาวะ กระแสผู้บริโภค (กำหนดเป้าหมาย การติดตาม ก่อนทำงาน :คณะกรรมการชัดเจน ระหว่างทำงาน :กระบวนการ) 3เดือน 6 เดือน 9 เดือน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ : สิ้นปีงบประมาณ 1อำเภอ 1 ชุมชน
7
ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560
ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 90 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
8
แผนการดำเนินงาน/กิจกรรมหลัก
เป้าหมายกลุ่มป่วย แผนการดำเนินงาน/กิจกรรมหลัก เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง จัดการภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า จังหวัด : กำหนดTime lineการคัดกรอง , monitor ผ่าน CMBIS, HDC อำเภอ : วางแผน จัดทำโครงการ 2.คุณภาพการดูแลรักษา เป้าหมาย HbA1C< 7 % BP < 140/90 mm.Hg - พัฒนา CPG / system manager - พัฒนาบุคลากร Health coaching อำเภอ : เทคโนโลยี /โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความเชื่อมโยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ บุหรี่ : การประเมินตนเองของผู้ป่วย SMBG , SMBP อำเภอ :สร้างความรู้ ทักษะ สนับสนุนความมั่นใจ ครอบครัว เครือญาติ กลุ่ม ชมรม ระบบ และคนทำงาน ผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมในครัวเรือน และชุมชน
9
thank you
10
ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560
ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
11
เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80
ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
12
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จาก pre-diabetes ปี 2560
เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.40 ผลงานรวม ร้อยละ 1.63 ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
13
อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปี 2559
อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 = 8,940 ผลงาน ปี = 8,216 เป้าหมายผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 60 ข้อมูลผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 2560 ที่มา HDC : 14 สิงหาคม 2560
14
อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 จากปี 2559
อัตราป่วยความดันหิตสูงรายใหม่ใหม่ลดลง ร้อยละ 2.5 จากปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 = 23,342 ผลงาน ปี = 20,713 เป้าหมายผู้ป่วย HT รายใหม่ ปี 60 ข้อมูลผู้ป่วย HT รายใหม่ ปี 2560 ที่มา HDC : 14 สิงหาคม 2560
15
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ปี 2560
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ปี 2560 เป้าหมายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 40% ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
16
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2560
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2560 เป้าหมายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% หรือ มากกว่า 50% ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
17
ผลงานรวม ร้อยละ 73.53 เป้าหมายร้อยละ 80
ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 2560 เป้าหมายร้อยละ 80 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
18
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ปี 2560
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองมากกว่าร้อยละ 60 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
19
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ปี 2560
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ปี 2560 เป้าหมายการคัดกรองมากกว่าร้อยละ 70 ผลงานรวม ร้อยละ ข้อมูลการบริการจาก HDC : 14 สิงหาคม 2560
20
GAP การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การคัดกรอง ควบคุมป้องกันโรค ยังไม่ focusไปยังพื้นที่มีประชากรเสี่ยงสูง และผู้ที่ไม่เคยคัดกรองเป็นผลให้มีผู้ป่วยรายใหม่ต่อเนื่องในพื้นที่ พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน เด็กและวัยรุ่น จาก รพช. Refer มายัง รพ.ชุมชน 13 ราย อัตราป่วยโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น อัตราตายลดลงทำให้มีภาระในการดูแลผู้ป่วยหลัง Stroke ในระยะยาวมากขึ้น การรณรงค์สร้างความตระหนักในชุมชนยังน้อย การพัฒนาระบบการดูแลรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การสนับสนุนให้ผู้ป่วยดูแลตนเองยังในสถานบริการและในชุมชนยังไม่เห็นผลชัดเจน (Self Monitoring Blood Glucose /BP , Self Help Groupในชมรมผู้ป่วย) ผลงานบริการ ในหน่วยบริการ(Activity)และ HDC (ผลงาน Coverage)ต่างกันมาก เนื่องจาก มีประชากรในเขตไปรับบริการ ที่อื่น, การลงข้อมูล typeประชากรไม่ถูกต้อง
21
Program Evaluation Review Technics(PERT) : NCD
ไตรมาส 4 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 จัดอบรม ประชาชนทั่วไปกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสม 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น 2.ผลการคัดกรองภาวะเสี่ยงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 3.ประชาชนขาดความตระหนักสัญญานเตือนภัยและอันตรายของโรค 4.นโยบาย หมู่บ้าน/รร.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดประชาคมตำบล สร้างมาตรการทางสังคม มีตำบลจัดการสุขภาพ มีคณะกรรมการขับเคลื่อน -EMS และศูนย์ฟื้นฟูชุมชน -วัสุดอุปกรณ์คัดกรอง ทีมตำบลนำ SOP ไปปฎิบัติ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ สร้าง อฉช. การสื่อสารความเสี่ยง ทำแผนชุมชน Goal ผลงานตามเกณฑ์เป้าหมายของ PA -นักบริบาลชุมชม - รร.อสม SOP ชุมชน จัดอบรม - อสค. - อสม. ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน/ ตรวจสอบความถูกต้อง เยี่ยมบ้าน , จัดกิจกรรมสุขภาพ มีคลินิก NCDคุณภาพ ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ ทบทวนคณะกรรมการ ถ่ายทอดนโยบาย สร้างแผน คุม DM , HT ได้มีพฤติกรรมเหมาะสม สรุปผลการประเมิน ขยายผล Best tice ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ประชุมเชิงปฎิบัติการ คณะกรรมการ NCD Bord มีแผนงานบูรณาการระดับจังหวัด/อำเภอ มีแนวทางปฎิบัติการ (SOP) ตามปิงปอง 7 สี (กลุ่มปกติ , เสี่ยง , ป่วย) มีผลการประเมิน /แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีคลินิก DPAC สุขภาพ ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ ระบบการส่งต่อมีประสิทธิภาพ ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ดำเนินงานตามแนวปฎิบัติ สรุปผลการประเมิน มีคลินิก CKDคุณภาพ ผู้ป่วย CKD 1-3 , มีพฤติกรรมเหมาะสมได้รับการดูแล ผู้บริหารชี้แจงให้เกิด ทีมสหวิชาชีพขับเคลื่อน SOP การจัดบริการคลีนิก ประเมินตนเอง/ทีมประเมิน ผลการประเมินไม่บรรลุ Goal ประชุมเชิงปฎิบัติการ อบรม ติดตาม พัฒนาระบบฐานข้อมูล มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ มีคณะกรรมการ NCD จังหวัด/อำเภอ รับทราบข้อมูลการดำเนินงาน นำเสนอข้อมูล มีทีมประเมิน ประชุมพัฒนาทีม ทีมประเมินมีคุณภาพ ประชุมจัดทำแผน แผนการประเมิน ดำเนินการประเมิน ทบทวนแผน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.