ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
ในโครงการอบรมวิธีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษา ภาระทางสุขภาพที่เกิดจากการทำงาน วันที่ 27-28 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมทีเค พาเลซแอนด์ แอนด์ คอนเวนชั่น จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์, พย.ม., APN กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม รพ.ระยอง
2
15 Industrial Zones in Rayong
บริบทจังหวัดระยอง แผนที่จังหวัดระยอง 15 Industrial Zones in Rayong Petrochemical Complex
3
วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลระยอง
“เป็นเลิศในการให้บริการอาชีวเวชศาสตร์ ของประเทศ” ผอ. รพ.ระยอง นพ.วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ "ร่วมคิด ร่วมทำ นำความสำเร็จ"
4
บริบท รพ.ระยอง ระดับตติยภูมิ 555 เตียง จำนวนบุคลากร 1,484 คน ผู้ประกันตน 183,411 คน ผู้ประกันตนในจังหวัดระยอง 405,287 คน จำนวนสถานประกอบการ 2,279 แห่ง
5
แผนพัฒนาสู่วิสัยทัศน์
Excellence Center of Occupational Medicine Service ,Rayong Hospital Trainer Researcher International Time frame; “TRI” Concept Preventive medicine; OHS-S (Bureau of Occ. & Env. Disease) Clinical Service; Center of Occupational Medicine Service of Nopparat Hospital Model
6
แผนยุทธศาสตร์ รพ ระยอง พ.ศ. 2558-2560
กลยุทธ์ - Clinical & Occupational excellence วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์(Strategic Objective) -เพื่อพัฒนางานด้านอาชีวเวชศาสตร์แบบ ครบวงจรและได้มาตรฐาน
7
นพ. วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผู้อำนวยการ รพ.ระยอง
นพ. วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผู้อำนวยการ รพ.ระยอง รอง ผอ.ฝ่ายปฐมภูมิ นพ. บุญลักษณ์ ธำรงลักษณ์กุล กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม นพ. ธีระศิษฏ์ เฉินบำรุง คลินิกอาชีวฯ สร้างเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัยใน รพ. อาชีวป้องกันและควบคุมโรค เวชกรรมสิ่งแวดล้อม ศูนย์รักษาพิษสารเคมี พยาบาล 2 คน ธุรการ 2 คน พยาบาล 4 คน นักวิชาการ 2คน ธุรการ 2 คน พยาบาล 2 คน นักวิชาการ 1 คน ธุรการ 1 คน พยาบาล 3 คน นักวิชาการ 2 คน ธุรการ 1 คน พยาบาล 1 คน นักวิชาการ 1คน พยาบาล 2 คน นักวิชาการ 1คน แพทย์ 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 14คน นักวิชาการสาธารณสุข 7 คน ธุรการ 6 คน
8
ศักยภาพ; การให้บริการครบวงจร
ด้านอาชีวเวชกรรม : บริการครบวงจร ทั้งเชิงรับและเชิงรุก สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันโรค ฟื้นฟูสภาพเพื่อกลับเข้าทำงาน วินิจฉัยรักษา
9
โรคและอุบัติเหตุจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม
ด้านอาชีวเวชกรรม : บริการครบวงจร ทั้งเชิงรับและเชิงรุก โรคและอุบัติเหตุจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม มีผู้บาดเจ็บสาหัส และโรคจากการทำงาน ทีมแพทย์สหสาขาและเครือข่ายศูนย์พิษฯ รพ.รามาธิบดี/ รพ.ศิริราช/รพ.นพรัตน์ฯ
10
ศักยภาพ รพ.ระยอง : การให้บริการ
ด้านเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ใช้ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) เพื่อการประเมินสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพตามความเสี่ยง
11
ศักยภาพ รพ.ระยอง : พัฒนาด้านวิชาการ
จัดอบรมบุคลากรระดับภาค แหล่งเรียนรู้/ฝึกงาน resident occmed คู่มือ เอกสารวิชาการ เผยแพร่ผลงาน ในวารสารวิชาการต่างๆ
12
ระบบการวินิจฉัยและวิเคราะห์ข้อมูล
โรคจากการทำงาน SSB ENV OCC
13
วางแผนการพัฒนาระบบการวินิจฉัยและบันทึกรหัสโรคขาการทำงาน
14
การพัฒนาบุคลากร แพทย์ : เรียนรู้กับเครือข่าย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/รพ.นพรัตน์ราชธานี (Resident training) พ.ศ.2558 พยาบาล หอผู้ป่วย อบรม 100 % ความรู้ทั่วไป อาชีวอนามัย/ผู้แทนหอผู้ป่วยทุกหอ อบรมหลักสูตร ระยะสั้นพยาบาลอาชีวอนามัย 60 ชม; พค 58 เจ้าหน้าที่เวชสถิติ จัดอบรม/วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ (D10 env occ) เจ้าหน้าที่บันทึกรหัสโรคหน้าคลินิกผู้ป่วยนอก
15
ระบบสารสนเทศ SSB ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน โรงพยาบาลระยอง
รหัสหลัก ICD 10 รหัสรอง ICD 10 ENV OCC ; Y96, Y97 กำหนดตัวแปรในการดึงข้อมูล ฝ่ายนโยบายและแผน งานอาชีวป้องกันควบคุมโรค กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม วิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดแผนงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค
16
แนวทางการให้รหัส การวินิจฉัยหลัก (Principle Diagnosis) ลงเป็นรหัสโรค หลัก (Primary Code) ตามกฎเกณฑ์ของ ICD-10 การบ่งบอกว่าเป็นโรคจากการทำงานหรือสิ่งแวดล้อม ทำโดยการให้ใช้รหัสเสริม (Secondary Code) คู่กับการ วินิจฉัยหลักดังนี้ รหัส Y96 สำหรับโรคที่มีสาเหตุเกิดจากการทำงาน รหัส Y97 สำหรับโรคที่มีสาเหตุเกิดจากสิ่งแวดล้อม
17
แนวทางการให้รหัส ตัวอย่างที่ 1
โรคหอบหืดทั่วไป (Asthma) ลงรหัสที่ 1 - J45.9 โรคหอบหืดจากการทำงานในโรงงานขนมปัง (Occupational Asthma) ลงรหัสที่ 1 - J45.0 ลงรหัสที่ 2 - Y96 ตัวอย่างที่ 2 โรคหัด (Measles) ลงรหัสที่ 1 – B05 พยาบาลติดโรคหัดจากคนไข้ (Occupational Measles) ลงรหัสที่ 1 – B05 ลงรหัสที่ 2 - Y96 ที่มา; นพ.จรัส โชคสุวรรณกิจ ศูนย์อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม รพ.นพรัตนราชธานี
18
การวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลระยอง ปี 2555-2557
19
ที่มาของข้อมูล 1. ข้อมูลโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม
จากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลและข้อมูลของ คลินิกโรคจากการทำงาน (ช่วงปี คลินิกอื่นๆยังไม่มีการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน เมื่อสงสัยจะส่งผู้ป่วยมารับการวินิจฉัยที่คลินิกโรค จากการทำงาน)
20
ที่มาของข้อมูล 2. ข้อมูลอุบัติเหตุจากการทำงาน
จากฐานข้อมูลของโรงพยาบาล (หน่วยงาน อุบัติเหตุและฉุกเฉินวินิจฉัย) จากข้อมูลของคลินิกโรคจากการทำงาน
21
การบันทึกรหัส ICD 10 ENV OCC และการวิเคราะห์ข้อมูล ในระบบ SSB
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม คลินิกโรคจาการทำงาน บริการเชิงรุก (มีข้อจำกัด) งานบริการทางคลินิก (Clinical Service) คลินิกผู้ป่วยนอก คลินิกประกันสังคม/คลินิกเฉพาะทางสาขาต่างๆ คลินิกเครือข่าย รพ.ระยอง 4 มุมเมือง ผู้ป่วยใน ...เวชระเบียน
22
การวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากการทำงาน
ผลการดำเนินงานและ การวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากการทำงาน
23
วิเคราะห์ตามสาเหตุการเจ็บป่วย
จำแนก 4 สาเหตุ 1. โรคจากการทำงาน 2. อุบัติเหตุจากการทำงาน 3. โรคจากสิ่งแวดล้อม 4. อุบัติภัยสารเคมี
24
จำนวนผู้รับบริการจำแนกตามสาเหตุการเจ็บป่วย
25
การวินิจฉัยจำแนกตามกลุ่มโรค
จำแนก 10 กลุ่มโรค ได้แก่ โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ โรคพิษเหตุสารระเหยและสารทำละลาย โรคผิวหนัง โรคเหตุสภาวะทางกายภาพ โรคปอดและทางหายใจ โรคพิษจากก๊าซ โรคพิษโลหะหนัก โรคพิษจากกรดเบส โรคพิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมีอื่นๆ โรคจากการประกอบอาชีพหรือจากสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
26
จำนวนผู้รับบริการตรวจวินิจฉัยโรค จำแนกตามกลุ่มโรค
27
การวินิจฉัยจากการทำงาน
จากการตรวจวินิจฉัยแยกโรคผู้รับบริการ จำแนก ผลการวินิจฉัยเป็น 3 แบบ ได้แก่ ใช่ เกี่ยวเนื่อง ไม่ใช่
28
จำนวนผู้รับบริการตรวจวินิจฉัยโรค จำแนกตามผลการวินิจฉัย (พบเฉพาะในคลินิกอาชีวเวชกรรม)
29
การเก็บรวบรวมข้อมูลตามรายงาน 506/2 เริ่มระบบโดยการเลือก
ระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลในโรงพยาบาล ที่เรียกว่า SSB โดยระบบนี้สามารถบันทึกข้อมูลและรายงานข้อมูลต่างๆภายในโรงพยาบาล ทั้งนี้ในการดึงข้อมูล506/2จึงสามารถนำข้อมูลมาได้จากระบบนี้ เริ่มระบบโดยการเลือก ส่วน ICD detail 506/2
30
เลือกส่วนต่างๆ ตามภาพ จากนั้น กด
ข้อมูลที่ได้ จากนั้น กด นำข้อมูลออก
31
เลือกบันทึกเป็นexcelตรง save as type เลือก .xls
นำข้อมูลที่ได้มาลงให้ตรงหัวตาราง
32
ลงรหัส Dis_Code ตามICD10
ลงรหัส อาชีพ ตามที่กำหนด
33
รานงานสสจ. รายเดือน/วิเคราะห์สถานการณ์โรค
34
นำมาวิเคราะห์กลุ่มโรค 10 อันดับ
35
กราฟที่ 1 จำนวนผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
5 อันดับโรค มกราคม-ธันวาคม 2555 รพ.ระยอง จังหวัดระยอง ที่มา:รายงาน 506/2 ปี โรงพยาบาลระยอง
36
กราฟที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
5 อันดับโรค มกราคม-ธันวาคม 2556 รพ.ระยอง จังหวัดระยอง ที่มา:รายงาน 506/2 ปี โรงพยาบาลระยอง
37
กราฟที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
5 อันดับโรค มกราคม-ธันวาคม 2557 รพ.ระยอง จังหวัดระยอง ที่มา:รายงาน 506/2 ปี โรงพยาบาลระยอง
38
สถานการณ์อุบัติเหตุจาการทำงานและที่เข้ารับการรักษาใน รพ. ระยอง พ. ศ
สถานการณ์อุบัติเหตุจาการทำงานและที่เข้ารับการรักษาใน รพ.ระยอง พ.ศ พ.ศ. 2555 เก็บข้อมูลโดยกลุ่มงานอาชีวเวกรรม คัดลอกจากทะเบียนของ ER พ.ศ เก็บข้อมูลโดยดึง/นำออกจาก ฐานข้อมูลผู้ใช้บริการ SSB Program
39
ตารางที่ 1 จำนวนผู้บาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ ปี2555-2557
ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระยอง ผู้บาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ จำแนกตามสาเหตุ หน่วย สะสมตั้งแต่ เดือนตุลาคม ปี2555 ปี2556 ปี2557 - พลัดตกหกล้ม ตกจากที่สูง คน 70 164 217 - ตะปูตำหรือของมีคมบาด/ทิ่มแทง 155 273 261 - แรงอัด กระแทก วัตถุตกใส่ 169 427 420 - วัตถุกระเด็นเข้าตา ใบหน้า 63 50 43 - โรคจากของร้อน สารเคมี 13 29 40 - ไฟฟ้าช็อต 4 23 - ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด 2 - อื่นๆ ระบุ 37 52 รวม 483 986 1,058
40
ตารางที่ 2 จำนวนผู้บาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ ปี2555-2557
ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระยองแยกตามอวัยวะ/ส่วนของร่ากาย แยกตามอวัยวะหรือ ส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บ หน่วย สะสมตั้งแต่ เดือนตุลาคม ปี2555 ปี2556 ปี2557 - ใบหน้า ศีรษะ ดวงตา คน 93 - แขน มือ 165 1 - ขา เท้า 119 - ลำตัวด้านหน้า หลัง 106 - ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด - อื่นๆ ระบุ รวม 483 2
41
ตารางที่ 3 จำนวนผู้บาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ ปี2555-2557
ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระยองแยกตามระดับความรุนแรง แยกตามระดับความรุนแรง หน่วย สะสมตั้งแต่ เดือนตุลาคม ปี2555 ปี2556 ปี2557 - ผู้ป่วยนอก ราย 329 2 - ผู้ป่วยใน 154 - สูญเสียอวัยวะ - ทุพลภาพ - เสียชีวิต รวม 483
42
การนำข้อมูลไปใช้ วิเคราะห์สถานการโรคและจัดลำดับความสำคัญ ร่วมกับ ปัญหาเชิงพื้นที่และปัจจัยเสี่ยงจาก โรงงานและ สิ่งแวดล้อม คืนข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเวทีต่างๆ เช่น คกก. คลินิคโรคจาการทำงาน คกก.บริหาร โรงพยาบาล จัดทำแผนสร้างเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคจาการทำงาน และสิ่งแวดล้อม ประเมินผลการบวรการบริการด้านสาธารณสุขของ รพ.
43
ข้อจำกัด/โอกาสพัฒนา ระดับ รพ. ระยอง
ระบบการลงรหัสโรคจากการทำงานยังไม่ได้ทำทุก คลินิกบริการ สาเหตุอาจมาจาก บุคลากรทุกระดับ/ทุกสาขา พร่ององค์ความรู้/ความตระหนัก แพทย์สาขาอื่นอาจวินิจฉัย แต่ไม่ได้ลงรหัสในระบบฐานข้อมูล แพทย์สาขาอื่นยังไม่มีการวินิจฉัย การติดตามประเมินผลตามแผนงานอย่างเป็นรูปธรรม
44
ข้อจำกัด หน่วยบริการมีภาระงานมาก (เชิงบริหาร/พัฒนา ระบบไม่ควรกล่าวถึงปัญหานี้แต่เป็นความจริง) กรณีรายงาน 506 /2 version เก่า ไม่เข้ากับ ระบบ IT ใหม่ (ทราบว่ากำลังพัฒนา) รายงานคลินิกโรคจากการทำงาน oil line ยังไม่ สามารถ ใช้ระบบนำเข้าข้อมูลได้ เกิดภาระงาน เพิ่มขึ้น
45
ระบบการวินิจฉัยและวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากการทำงาน
แผนพัฒนาการลงรหัสโรคจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม ระบบการวินิจฉัยและวิเคราะห์ข้อมูลโรคจากการทำงาน SSB ENV OCC
46
วางแผนการพัฒนาระบบการวินิจฉัยและบันทึกรหัสโรคขาการทำงาน
47
แผนพัฒนาการลงรหัสโรคจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาองค์ความรู้ ความตระหนักและทักษะนา ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพิ่มเติม แพทย์ทุกสาขา...วินิจฉัยโรคจาการทำงาน ...ขาดข้อมูล สนับสนุนการวินิจฉัย ส่งต่ออาชีวเวชกรรมเข้า รง. พยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ซักประวัติ คัดกรองโรคฯ จนท ที่ทำหน้าที่บันทึกรหัส ICD 10 ENV OCC ฝ่ายเวชระเบียน/ห้องบัตรในการลงลักษณะอาชีพ และที่ ทำงาน เบอร์โทรศัพท์ ภาพฝันไปสู่วิสัยทัศน์ รพ.ระยอง
48
แผนพัฒนาการลงรหัสโรคจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาองค์ความรู้ ความตระหนักและทักษะนาของ บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ การแรงจูงใจ เพื่อขับเคลื่อนให้ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการ พยาบาลซักประวัติ เพื่อคัดกรองโรคจาการทำงาน Remark ให้ แพทย์ แพทย์สาขาต่างๆ Differential Diagnosis โรคจาการทำงานและ สิ่งแวดล้อม ฝ่ายแผนงานและยุทธศาสตร์ /วิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอผู้บริการเพื่อ เป็นการประเมินผล และใช้วางแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการ ต่อไป ภาพฝันไปสู่วิสัยทัศน์ รพ.ระยอง
49
Thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.