งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการยกระดับมาตรฐาน สถานที่จำหน่ายอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

2 เนื้อหาบรรยาย 1. สถานการณ์ด้านการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
2. กรอบแนวคิดการยกระดับร้านอาหารให้มีคุณภาพ 3. แนวทาง/กลไกการยกระดับร้านอาหารสู่ความเป็นเลิศ - การพัฒนาด้านบุคลากร/เจ้าหน้าที่ - การพัฒนาด้านผู้ประกอบกิจการร้านอาหาร - การส่งเสริมความรอบรู้สู่ประชาชน(อาหารปลอดภัย) 4. การจัดการความเสี่ยงที่เกิดในร้านอาหาร 5. ช่องทางการสนับสนุน การประสานและขับเคลื่อนงาน - การสนับสนุนทางด้านวิชาการ - การสนับสนุนด้านกฎหมาย

3 สถานการณ์ด้านการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร

4 สถานการณ์ด้านการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร

5 พฤติกรรมวิถีการกินของคนเมือง
ช่วงเช้า-แผงลอย/ร้านจำหน่ายอาหาร/ร้านอาหารริมทาง ช่วงสาย- ร้านอาหารตามสั่งข้างออฟฟิศ หรือโรงอาหารของที่ ทำงาน ช่วงบ่าย-รถเข็นขายผลไม้/ร้านจำหน่ายกาแฟ ช่วงเย็น- ร้านข้าวแกงจากตลาดนัด/โต้รุ่ง/แผงลอยกลับบ้าน รอบดึก-ข้าวต้มโต้รุ่งหน้าปากซอย

6 การจัดการเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับอาหารและน้ำ ปี2560
เรื่องนโยบายที่ประชาชนขอเสนอความคิดเห็นในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 2. แนวทางการป้องกันและยกเลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 3. ความคิดเห็นคุณภาพอาหารสด 4. การดูแลควบคุมผู้ประกอบการร้านอาหาร 5. ให้มีการตรวจสารเจือปนในตลาด 6. การปรับภูมิทัศน์ร้านอาหาร 7. สติกเกอร์ห้ามนำสัตว์เข้าร้านอาหาร 8. การใช้ความร้อนจากก๊าชโดยตรงในการปรุงอาหาร อันตราย

7 เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับอาหารและน้ำ

8

9

10 ความเชื่อมโยงของกฎหมายที่เกี่ยวกับอาหาร

11 ลักษณะของร้านจำหน่ายอาหาร ตามกฎหมาย
1. เป็นสถานที่ใดๆ ที่เป็นของเอกชน มิใช่ที่ หรือทางสาธารณะ (หมายถึง สถานที่ที่มิใช่ของเอกชน และประชาชน สามารถเข้าใช้สอย และสัญจรได้) ไม่ว่าจะมีลักษณะเป็นอาคาร หรือไม่ก็ตาม 2. มีการปรุงประกอบอาหารจนสำเร็จ 3. มีการจำหน่ายอาหาร ณ ที่นั้น ซึ่งผู้ซื้อสามารถใช้บริโภคได้ทันที ทั้งนี้ไม่ว่า จะจัดให้มีที่รับประทานหรือไม่ก็ตาม ดังนั้น สถานที่จำหน่ายอาหาร จึงครอบคลุมกิจการร้านอาหาร ที่เป็นลักษณะอาหาร ร้านภัตตาคาร สวนอาหาร ร้านข้าวแกง ร้ายก๋วยเตี๋ยว ร้านข้าวขาหมู หมูแดง ข้าวมันไก่ ร้านขายขนมจีน รวมทั้งร้านกาแฟ เครื่องดื่มชนิดต่างๆ ด้วย หรือร้านอาหารในลักษณะอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน ฯลฯ ทั้งนี้ ต้องเป็นการจำหน่ายในสถานที่เอกชน

12 กรอบแนวคิดการดำเนินงานยกระดับมาตรฐานร้านอาหาร
1) เจ้าหน้าที่และบุคลากรของรัฐ 2) ผู้ประกอบกิจการร้านอาหาร 3) ประชาชน ยกระดับ 3 ส่วน

13 สภาพปัญหาและปัจจัยในการดำเนินงานในปัจจุบัน
-ไม่บังคับใช้ กม. อย่างจริงจัง -นโยบายไม่ชัดเจน -การเสริมความรู้ไม่ต่อเนื่อง ขาดความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ - สถานประกอบการไม่ได้มาตรฐาน ประชาชนร้องเรียน - พฤติกรรมการประกอบปรุง/ความคุ้นชิน -ผู้ประกอบการ บางรายไม่ให้ความร่วมมือ เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ไม่มีความรู้ ไม่ตระหนักในการเลือกซื้อ อาหารที่สะอาด ปลอดภัย

14 กรอบแนวคิดการดำเนินงานยกระดับมาตรฐานร้านอาหาร
เป้าหมาย: อาหารที่จำหน่ายจากสถานที่จำหน่ายอาหาร ปลอดภัยต่อการบริโภค มีนโยบายและแผนพัฒนาที่ชัดเจน เกณฑ์มาตรฐาน/SOP เครื่องมือ (ชุดตรวจ/App) สนับสนุน สร้างกระบวนการ มีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติถูกต้อง/ถูกกฎหมาย มีความตระหนัก/จิตสำนึก มีภาคีเครือข่าย ร้านอาหาร มีคุณภาพ และ ความปลอดภัย จนท. ควบคุมดูแล ความปลอดภัยของอาหาร ผู้ประกอบการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ผู้บริโภค มีความรู้/ ตระหนัก ในการเลือกซื้ออาหาร -มีความรู้รู้เท่าทัน -รู้จักสิทธิ ตนเอง -มีความรอบรู้ ดูแลตัวเองได้

15 กรอบแนวคิดการดำเนินงานยกระดับมาตรฐานร้านอาหาร
นโยบายภาครัฐที่ชัดเจน : การจัดแบ่งพื้นที่ การกำหนดเป็นแหล่งท่องเที่ยว การส่งเสริมโครงการอาหารปลอดภัย มีกฎหมายหรือมาตรฐานกำกับ- ปรับปรุงพัฒนาข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ และการบังคับใช้ มีการสร้างความร่วมมือ –ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการ (ความต่อเนื่อง พัฒนา สนับสนุนเสริมศักยภาพ) Social Marketing-เสริมสร้างความเข้มแข็งผู้บริโภคในการเลือกบริโภค/ซื้ออาหารที่ปลอดภัย

16 เจ้าหน้าที่และบุคลากรภาครัฐ
-ส่งเสริม และพัฒนาด้านกฎหมาย -การสร้างระบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการ ที่เป็นมาตรฐาน -การสร้างกระบวนการความร่วมมือภาคีเครือข่าย

17 กลไกและเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร
ระบบเตือนภัย (Risk Communication) M & E สื่อสารสาธารณะ และเตือนภัย ระบบ เฝ้าระวัง * Env. H. Accredit *นิเทศติดตามผล ระบบการบังคับใช้ กม.สธ. คุ้มครองสุขภาพ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. (ผู้ให้ บริการ) ประชาชน (ผู้รับบริการ) ควบคุม Std.ตามข้อบัญญัติ สถานที่/ สปก.ต่างๆ จพง. ตรวจตรา Empowerment (HIA)ด้านสิทธิ R&D พัฒนามาตรฐานงานอนามัยสิ่งแวดล้อม HIA พัฒนามาตรฐาน ควบคุม/เลือกตั้ง/ประชาคม/ร้องเรียน

18

19 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
ประเภทของสถานประกอบกิจการด้านอาหาร หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๕๘ได้กำหนดประเภทกิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม ไว้ 26 ประเภท เช่น ลูกชิ้น น้ำพริก เบเกอรี่ เนย ปลาร้า เส้นหมี่ ขนนมจีน ฯลฯ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร จำแนกเป็นประเภทสถานประกอบการ ได้ดังนี้ 1. ตลาด แบ่ง เป็น 2 ประเภท คือ ตลาดประเภทที่ 1 (มีโครงสร้าง) ตลาดประเภทที่ 2 (ไม่มีโครงสร้าง) 2. สถานที่จำหน่ายอาหาร เช่น ร้านอาหาร ภัตตาคาร ห้องอาหาร สวนอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหาร เป็นต้น 3. สถานที่สะสมอาหาร เช่น ร้านขายของชำ มินิมาร์ท ซุปเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ซึ่งรวมถึงการจำหน่ายสินค้าประเภทอาหารด้วย เช่น แผงลอยจำหน่ายอาหาร หาบเร่ รถเร่ เป็นต้น

20 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ
หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ กลุ่มกิจการที่ 3 กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม 24 กิจการ ตลาด : มีกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 สถานที่จำหน่ายอาหาร : ร่างกฎกระทรวงฯ อยู่ในขั้นตอนกฤษฎีกา สถานที่สะสมอาหาร : รอดำเนินการยกร่างกฎกระทรวง รอดำเนินการยกร่างกฎกระทรวง ดำเนินการจัดทำคำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข

21 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลไกการควบคุมตามกฎหมายสาธารณสุข พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการตลาด สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ การควบคุมการเลี้ยง/ปล่อยสัตว์ ออกคำสั่งให้ ปรับปรุง / แก้ไข พักใช้ / หยุด เพิกถอน พิจารณาอนุญาต กิจการต่าง ๆ กรณี เหตุรำคาญ ผิดสุขลักษณะอาคาร ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ 11

22 ผู้นำท้องถิ่นมีนโยบายสาธารณะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลไกและเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานมาตรฐานสถานที่จำหน่ายอาหารตามหลักการPMQA HC Strategy ผู้นำท้องถิ่นมีนโยบายสาธารณะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การจัดทำแผนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาระบบฐานข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ ระดับพื้นฐาน60-80% เกียรติบัตร80% ระบบ EHA SOP

23 ขั้นตอนการควบคุมกิจการร้านอาหาร/แผงลอย(เดิม)
ข้อกำหนดของท้องถิ่น การรับรอง/ CFGT. สุขลักษณะการปรุง/ประกอบ/ขาย สุขลักษณะของอาคาร สถานที่ สุขลักษณะผู้สัมผัสอาหาร การระบายอากาศ/กำจัดสิ่งปฏิกูล มูลฝอย กรมอนามัย มาตรฐานกายภาพ มาตรฐานร้านอาหาร 15 ข้อ มาตรฐานทางแบคทีเรีย ตรวจสอบ SI 2 ได้มาตรฐานไม่น้อยกว่า 90 % ราชการส่วนท้องถิ่น โครงการ CFGT (พื้นฐาน) ออกเทศบัญญัติ

24 ขั้นตอนการควบคุมกิจการร้านอาหาร/แผงลอย (ใหม่)
ผลักดันร้านอาหารรายเก่า (ร่าง) กฎกระทรวง สุขลักษณะสถานที่ จำหน่ายอาหาร มาตรฐานร้านอาหารใหม่ สุขลักษณะการปรุง/ประกอบ/ขาย สุขลักษณะสถานที่จำหน่าย สุขลักษณะผู้สัมผัสอาหารต้องมีความรู้ผ่านการอบรม และแจ้งท้องถิ่น ส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีความรู้ กรมอนามัย ร่างประกาศกระทรวง หลักเกณฑ์ วิธีการอบรมผู้ประกอบกิจการและ ผู้สัมผัสอาหาร มาตรฐานหน่วยอบรม มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานกระบวนการควบคุมคุณภาพ ราชการส่วนท้องถิ่น ระบบพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานท้องถิ่น (FSI/BFSI)

25 (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. ...
ผู้มีอำนาจบังคับใช้ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีผลต่อ สถานที่จำหน่ายอาหารทุกขนาด ได้แก่ กรณีพื้นที่ > 200 ตร.ม. ต้องขออนุญาต จากเจ้าพนักงานท้องถิ่น กรณีพื้นที่ ≤ 200 ตร.ม. ต้องแจ้ง ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น บทลงโทษ : เป็นไปตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ตามมาตรา 68 ผู้ใดฝ่าฝืนกฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา 6 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท)

26 สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร
สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร 1. กำหนดลักษณะของสถานที่และสุขลักษณะของบริเวณที่ใช้ทำประกอบหรือปรุงอาหาร สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่ที่จัดไว้สำหรับบริโภคอาหาร (กำหนดเรื่องความสว่าง) 2. กำหนดให้การจัดการเกี่ยวกับน้ำเสีย มูลฝอย ส้วม และการป้องกันควบคุมสัตว์ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด 3. กำหนดเรื่องการจัดการสุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ต่าง ๆ (กำหนดสารห้ามใช้ในการทำความสะอาด)

27 สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร
สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร 3. กำหนดห้ามการใช้ก๊าซหุงต้มเป็นเชื้อเพลิงในการทำ ประกอบปรุงอาหารบริเวณโต๊ะรับประทานอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร 4. ห้ามใช้เมทิลแอลกอฮอล์หรือเมทานอลเป็นเชื้อเพลิงในการทำ ประกอบ ปรุง หรืออุ่นอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร รวมทั้งต้องจัดให้มีมาตรการอุปกรณ์ หรือเครื่องมือสำหรับป้องกันอัคคีภัยจากการใช้เชื้อเพลิง

28 สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร
สาระสำคัญ (ร่าง) กฎกระทรวงว่าด้วย สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร 4. กำหนดให้สุขลักษณะของอาหาร กรรมวิธีการทำ ประกอบ ปรุงการเก็บรักษาและการจำหน่ายอาหารสำหรับอาหารสด อาหารแห้ง อาหารปรุงสำเร็จ (กำหนดอุณหภูมิ อาหารปรุงสำเร็จ) น้ำดื่ม และเครื่องดื่ม น้ำแข็ง การจัดเก็บสารเคมี สารทำความสะอาด วัตถุมีพิษ หรือวัตถุอันตราย ตลอดจนภาชนะ อุปกรณ์ เครื่องใช้อื่น ๆ และน้ำใช้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตามที่กำหนด 5. กำหนดให้สุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ประกอบกิจการสถานที่จำหน่ายอาหารและผู้สัมผัสอาหารต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตามที่กำหนด (กำหนดเรื่องการอบรมฯ)

29 การดำเนินงานอาหารปลอดภัยกรมอนามัย
พรบ. การสาธารณสุข 2535 มุ่งเน้น แก้ไข และลดความความเสี่ยงจากการ จัดบริการอาหาร และ คุณภาพน้ำบริโภค ในสถานประกอบการด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย บทบาทหน้าที่ จัดการและควบคุมปัจจัย สถานที่ อาหาร บุคคล ภาชนะอุปกรณ์ สัตว์&แมลง นำโรค

30 ผู้ประกอบการ -ดูแลสุขลักษณะสถานประกอบการ ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
-ดูแลสุขลักษณะสถานประกอบการ ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร -ปฏิบัติตามกฎหมาย -สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อการท่องเที่ยว

31 การยกระดับผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร
ควบคุมคุณภาพ ดูแลสภาพทางกายภาพ การใช้สารเคมี และป้องกันการปนเปื้อนเชื้อโรค เข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารตามที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติตามกฎหมาย การขอรับใบอนุญาตตามกฎหมาย และดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนด ดูแล ควบคุมผู้สัมผัสอาหาร ส่งเสริมให้มีการอบรมผู้สัมผัสอาหาร ส่งเสริมการมีสุขภาพดีให้กับผู้สัมผัสอาหาร สร้างนวัตกรรม/ใช้เทคโนโลยี เลือกหานวัตกรรม วิธีการในการส่งเสริมการขายอย่างมีคุณภาพ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคอาจใช้สัญลักษณ์ความปลอดภัยมาช่วย

32 ดูแลสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร (หลักการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร 15 ข้อ)
สถานที่รับประทานอาหาร เตรียมปรุง ประกอบอาหาร ต้องสะอาดเป็นระเบียบ และจัดเป็นสัดส่วน ไม่เตรียมปรุงอาหารบนพื้นและบริเวณหน้า หรือในห้องน้ำ ห้องส้วม และต้องเตรียมปรุงอาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้น อย่างน้อย 60 ซม. ใช้สารปรุงแต่งอาหารที่มีความปลอดภัย มีเครื่องหมายรับรองของอาหารทางราชการ เช่น เลขสารบบ อาหาร เครื่องหมาย รับรองมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.)

33 ดูแลสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร (หลักการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร 15 ข้อ)
4.อาหารสดต้องล้างให้สะอาดก่อนนำมาปรุง หรือเก็บ การเก็บอาหารประเภทต่างๆ ต้องแยกเก็บเป็นสัดส่วน อาหารประเภท เนื้อสัตว์ดิบ เก็บในอุณหภูมิที่ต่ำกว่า 5 องศาเซลเซียส 5.อาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว เก็บในภาชนะที่สะอาดมีการปกปิด วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 6. น้ำแข็งที่ใช้บริโภคต้องสะอาดเก็บในภาชนะที่สะอาดมีฝาปิด ใช้อุปกรณ์ที่มีด้ามสำหรับคีบหรือตักโดยเฉพาะวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. และต้องไม่มีสิ่งของอย่างอื่นแช่รวมไว้

34 ดูแลสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร (หลักการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร 15 ข้อ)
7. ล้างภาชนะด้วยน้ำยาล้างภาชนะ แล้วล้างด้วยน้ำสะอาด 2 ครั้ง หรือล้างด้วยน้ำไหล และที่ล้างภาชนะ ต้องวางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 8. เขียงและมีด ต้องมีสภาพดี แยกประเภท การใช้ระหว่างเนื้อสัตว์สุก เนื้อสัตว์ดิบ และผัก ผลไม้ 9. ช้อน ส้อม ตะเกียบ วางตั้งเอาด้ามขึ้นในภาชนะโปร่ง สะอาด หรือวางเป็นระเบียบในภาชนะโปร่งสะอาดและมีการปกปิด เก็บสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.

35 ดูแลสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร (หลักการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร 15 ข้อ)
10. มูลฝอย และน้ำเสียทุกชนิด ได้รับการกำจัดด้วยวิธีที่ถูกหลักสุขาภิบาล 11. ห้องส้วมสำหรับผู้บริโภคและผู้สัมผัสอาหารต้องสะอาด มีอ่างล้างมือที่ใช้การได้ดี และมีสบู่เหลว ใช้ตลอดเวลา 12. ผู้สัมผัสอาหารแต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ผู้ปรุงต้องผูกผ้ากันเปื้อนที่สะอาด สวมหมวกหรือเน็ทคลุมผม 13. ผู้สัมผัสอาหารต้องล้างมือให้สะอาดก่อนเตรียมปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหารทุกครั้ง ใช้อุปกรณ์ ในการหยิบจับอาหารที่ปรุงสำเร็จแล้วทุกชนิด

36 ดูแลสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร (หลักการสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร 15 ข้อ)
14. ผู้สัมผัสอาหารที่มีบาดแผลที่มือต้องปกปิดแผลให้มิดชิด หลีกเลี่ยงการปฏิบัติงานที่มีโอกาสสัมผัสอาหาร 15. ผู้สัมผัสอาหารที่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถติดต่อไปยังผู้บริโภค โดยมีน้ำและอาหารเป็นสื่อ ให้หยุดปฏิบัติงานจนกว่าจะรักษา ให้หายขาด

37 การยกระดับด้านสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร
(เพิ่มเติมให้มีมาตรฐานที่ดีขึ้น) 1. มีช้อนกลางสำหรับผู้บริโภค มีช้อนกลางไว้บริการ/เสิร์ฟมาพร้อมอาหารโดยไม่ต้องร้องขอ หรือมีข้อความ/สิ่งแสดง ให้รู้ว่ามีการเสิร์ฟช้อนกลางให้กับผู้บริโภค 2. มีอ่างล้างมือสำหรับผู้บริโภค จัดให้มีอ่างล้างมือที่สะอาดพร้อมสบู่ สำหรับผู้บริโภคใช้ได้โดยสะดวกและเพียงพอ 3. ส้วมในร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS (Healthy Accessibility Safety)

38 การยกระดับด้านสุขลักษณะร้านจำหน่ายอาหาร
(เพิ่มเติมให้มีมาตรฐานที่ดีขึ้น) 4. ผักสดปลอดสารพิษฆ่าแมลง เลือกใช้ ผักสด ซื้อจากแหล่งที่ปลอดภัย เชื่อถือได้ หรือได้รับการ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 5. ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมและมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้สัมผัสอาหารของกรมอนามัย หรือประจำตัวผู้สัมผัสอาหารทุกครั้งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอาหาร 6. ใช้ถุงมือสัมผัสอาหาร ผู้สัมผัสอาหารใช้ถุงมือหยิบหรือจับอาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว

39 ประชาชน/ผู้บริโภค - ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อน ไม่สะอาด - มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัยเลือกกิน เลือกใช้ได้ด้วยตัวเอง - ใช้มาตรการสังคม เพื่อควบคุมคุณภาพและสุขลักษณะของร้านอาหาร

40 หนูในร้านจำหน่าย เบเกอรี่
ประชาชนต้องรู้เท่าทัน และต้องคิด ตัดสินใจ และเลือกใช้บริการ ขาแมลงสาบในกาแฟ หนูในร้านจำหน่าย เบเกอรี่

41 ประชาชนต้องรู้เท่าทัน และต้องคิด ตัดสินใจ และเลือกใช้บริการ
แมลงสาบตามสถานที่จำหน่ายอาหาร

42 ประชาชนต้องรู้เท่าทัน และต้องคิด ตัดสินใจ และเลือกใช้บริการ
ลวดเย็บกระดาษ เส้นผมหรือขน ในอาหาร

43 ความเสี่ยงด้านกายภาพ เจ็บป่วย/เสียชีวิต
การรับสัมผัสความเสี่ยงจากร้านจำหน่ายอาหาร ความเสี่ยงด้านกายภาพ ผู้สัมผัสอาหาร -ผู้ประกอบปรุง -ผู้เตรียมอาหาร -ผู้เสิร์ฟอาหาร -ผู้ลำเลียงอาหาร -ผู้ขนส่งอาหาร -ผู้จำหน่ายอาหาร -ผู้ทำความสะอาดภาชนะ เจ็บป่วย/เสียชีวิต ประชาชน/ผู้บริโภค ความเสี่ยงด้านเคมี ความเสี่ยงด้านชีวภาพ แหล่งกำเนิด ทางผ่าน ผู้รับ

44 กินอาหารสะอาดปลอดภัย ดูแลสุขลักษณะ และจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร
การรับสัมผัสความเสี่ยงจากร้านจำหน่ายอาหาร คุณภาพชีวิตดี ผู้สัมผัสอาหาร -ผู้ประกอบปรุง -ผู้เตรียมอาหาร -ผู้เสิร์ฟอาหาร -ผู้ลำเลียงอาหาร -ผู้ขนส่งอาหาร -ผู้จำหน่ายอาหาร -ผู้ทำความสะอาดภาชนะ กินอาหารสะอาดปลอดภัย ดูแลสุขลักษณะ และจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร ประชาชน/ผู้บริโภค แหล่งกำเนิด ทางผ่าน ผู้รับ

45 การยกระดับ ประชาชน/ผู้บริโภคในการเลือกอาหาร
รับรู้และเลือกรับประทาน หรือซื้ออาหารจากร้านจำหน่ายอาหารที่ สะอาด ผู้สัมผัสอาหารไม่เจ็บป่วย ใช้อุปกรณ์ ภาชนะที่สะอาด รับรู้และเลือกรับประทานอาหารที่ใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัย หรือปลอดสารพิษ เพื่อให้ตนเองมีสุขภาพดี หากพบเห็นการปนเปื้อนของสิ่งสกปรก หรือพบสัตว์พาหะ และแมลงนำโรค ต้องแจ้งต่อผู้ประกอบการ หรือผู้สัมผัสอาหารให้ทราบทันที และแจ้งต่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักถึงเรื่อง ความปลอดภัย ความสะอาดของอาหาร และผักผลไม้ โดยต้องรู้จักวิธีการล้างผัก การเตรียมอาหารก่อนปรุงให้สะอาด ตั้งแต่ที่บ้านตนเอง

46 ลดสารเคมีทางการเกษตร
ความรอบรู้เรื่องอาหารปลอดภัย ตอน วิธีล้างผักอย่างง่าย ลดเชื้อโรคและพยาธิ ลดสารพิษตกค้าง ลดสารเคมีทางการเกษตร สนับสนุนโดย: สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย

47 โรตีๆๆ สายไหมๆๆ ขนมเส้นๆๆ ซาลาเปาๆๆ ขนมครกๆๆ ขนมจีบๆๆ โดนัทๆๆ

48 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
การประสานงานเพื่อการพัฒนาร้านอาหารให้มีคุณภาพ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย ศูนย์อนามัย ประสานเพื่อขอรับข้อมูล ความรู้ และขอรับคำปรึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหาร

49 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การประสานงานเพื่อการพัฒนาร้านอาหารให้มีคุณภาพ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


ดาวน์โหลด ppt สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google