ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยมาณี วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศ.ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย
พ.ศ 15/11/56 จากข้อมูลเดิมของสำนักระบาดวิทยา พบว่าปี 2523 มีรายงานผู้เสียชีวิตสูงถึง 370 ราย) สำหรับสถานการณ์ผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าของประเทศประเทศไทย มีแนวโน้มลดลงมาโดยตลอด ตั้งแต่ ปี 2525 ซึ่งเริ่มมีการนำวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่ผลิตจากเซลล์เพาะเลี้ยง ชนิด Human diploid cell (HDCV) มาใช้ ปี 2528 สถานเสาวภา สภากาชาดเริ่มใช้วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่ผลิตจากเซลล์เพาะเลี้ยงชนิด Vero cell (PVRV) ซึ่งมีราคาถูกกว่า ปี 2530 สถานเสาวภา เริ่มใช้ HRIG ปี 2531 ยุติการผลิตวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากสมองแกะ (ใช้ฉีดรอยสะดือ) เนื่องจากประสิทธิสิทธิ์ภาพไม่ดี และใช้เซลล์เพาะเลี้ยง เพียงอย่างเดียวตั้งแต่นั้นมา ทำให้ประสิทธิ์ภาพในการป้องกันโรคในคนสูงขึ้น แนวโน้มจำนวนผู้เสียชีวิตจึงลดอย่างชัดเจน ปี 2536 เริ่มใช้ ERIG ที่ผลิตโดยเสาวภา ยิ่งช่วยทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตลดอย่างชัดเจน ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิต ลดลงจาก 113 รายในปี 2535 เหลือ 24 รายในปี 2552 เริ่มมีการนำวัคซีนที่มี ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ พ.ศ ) พบว่าจำนวนผู้เสียชีวิตมีแนวโน้มลดลงโดยตลอด เนื่องจาก เมื่อพิจารณาปัญหาที่พบปัจจุบัน คือ ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา แนวโน้มจำนวนผู้เสียชีวิตกลับเพิ่มขึ้น - ผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนหลังสัมผัสโรค - การค้นหาผู้สัมผัสโรคยังไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด - ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า - ประชาชนขาดความตระหนักเรื่องการดูแลตนเองทั้งก่อนและหลังถูกสัตว์กัด
3
จำนวนผู้เสียชีวิตรายจังหวัด
ปี จว.ที่มีผู้เสียชีวิต 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 กทม. 6 1 ปทุมธานี สระบุรี จันทบุรี ชลบุรี 2 ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว สมุทรปราการ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ มุกดาหาร ตาก เชียงราย นครศรีฯ พัทลุง สงขลา รวม 15 7 5 10 15/11/56 ตั้งแต่ปี 2553 จะเห็นได้ว่าผู้เสียชีวิต เกาะกลุ่มอยู่ในภาคกลาง และบางจังหวัด ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในปี จังหวัดที่เกิดโรคส่วนใหญ่อยู่บริเวณภาคตะวันออก เมื่อพิจารณาจังหวัดที่มีผู้เสียชีวิต มักเป็นจังหวัดที่เคยมีผู้เสียชีวิต รูปแบบการเกิดโรคมีทั้งแบบติดกันปี / ปีเว้นปี / ปีเว้นหลายปี และการเกิดโรคมักกระจายไปตามจังหวัดข้างเคียง เกิดโรค ใน 21 จังหวัด ที่มา : สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
4
จำนวนผู้เสียชีวิต (ราย)
จำนวนผู้เสียชีวิตโรคพิษสุนัขบ้า - ผู้รับวัคซีนหลังสัมผัสโรค ประเทศไทย, พ.ศ.2554 – 2559* จำนวนผู้เสียชีวิต (ราย) จำนวนผู้รับวัคซีน (ราย) จากข้อมูลการสำรวจจะพบว่า สอดคล้องกับปัญหาของผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย ช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ พ.ศ ) พบว่าจำนวนผู้เสียชีวิตมีแนวโน้มลดลง แต่เมื่อพิจารณาปัญหาที่พบปัจจุบัน คือ - ผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนหลังสัมผัสโรค - การค้นหาผู้สัมผัสโรคยังไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด - ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า ประชาชนขาดความตระหนักเรื่องการดูแลตนเองทั้งก่อนและหลังถูกสัตว์กัด และผลการสอบสวนโรคพบว่า ทั้งหมดจะเสียชีวิตหลังสัมผัสโรคไม่เกิน 1 ปี จึงจำเป็นต้องเน้นย้ำในเรื่องของการค้นหา และติดตามผู้สัมผัสโรคให้มารับวัคซีน (จากกราฟ ผู้รับวัคซีนป้องกันโรคไม่ได้ลดลง และมีแนวโน้มสูงขึ้น ต้องเพิ่มการค้นหา) ปี (พ.ศ.) แหล่งข้อมูล : ผู้เสียชีวิต (รง.506), สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ผู้รับวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า (ร.36), สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
5
ข้อมูลผู้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ลักษณะประชากรตามกลุ่มอายุ 67% พฤติกรรมการดูแลบาดแผล 78.5% 18.4% สัตว์นำโรค 75 % 25% 99% 1 % กักดูอาการ จำนวนผู้ป่วยสูงในกลุ่มอายุ 1-5 ปี ปี ปี และ ปี สัตว์นำโรค คือ สุนัข 78.5% แมว 18.4% อีก 3.17 % เป็น หนู ลิง ชะนี กักขังได้ ร้อยละ 75 หนีหาย ร้อยละ 25 (สัตว์หนีหายต้องนับว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า) หมา-แมว ที่กักขังไว้ ตายใน 10 วัน = 1% ไม่ตายใน 10 วัน = 99% พฤติกรรมการดูแลบาดแผล 67 % ล้างแผล แต่อีก 33% ยังดูแลบาดแผลไม่ถูกต้อง ใส่ยาฆ่าเชื้อก่อนมา รพ. 6.4 % ไม่ใส่ยา 93.6% 6.4% ใส่ยาฆ่าเชื้อก่อนมา รพ.
6
ความรู้และความเข้าใจของประชาชนต่อโรคพิษสุนัขบ้า
15/11/56 ความรู้และความเข้าใจของประชาชนต่อโรคพิษสุนัขบ้า ข้อมูลของผู้เสียชีวิต เพศชาย ร้อยละ 73 อายุเฉลี่ย ปี ส่วนใหญ่ถูกสุนัขกัด แล้วไม่ได้ไปพบแพทย์ แหล่งข้อมูล : DDC Poll โรคพิษสุนัขบ้า เดือนสิงหาคม 2558 พื้นที่ 24 จังหวัด(กทม.+ ภูมิภาค) รวม 3,024 ตัวอย่าง ปัญหาความรู้ความเข้าใจของประชาชนเป็นสิ่งสำคัญของการเสียชีวิต จะเห็นได้ว่าจากข้อมูลดังกล่าวประชาชน ยังมีความเข้าใจผิดอย่างมาก โดยเฉพาะประเด็นโรคพิษสุนัขบ้ารักษาได้ 32.4 และ ไม่แน่ใจว่ารักษาได้ 40.4 หากพบสัตว์เป็นบ้าจะแจ้ง จนท โรคพิษสุนัขบ้ารักษาหายได้ ล้างแผล ใส่ยา ไปหาหมอ เมื่อถูกสัตว์ กัด/ข่วน 39.6 ไม่แน่ใจว่าโรคนี้รักษาหายได้ สัตว์ฉีดวัคซีนเข็มเดียวป้องกันได้ตลอดชีวิต 40.7 สัตว์ที่เป็นโรคต้องดุร้าย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็น Rabies ได้ 41.4 พาสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีนเป็นประจำ 43.3 สุนัขที่เลี้ยงนอกบ้านมีโอกาสติดโรค 45.2 ลูกสุนัข 2-3 เดือนต้องพาไปฉีดวัคซีน 49.0 การฉีดวัคซีนให้สัตว์เลี้ยงเป็นหน้าที่ของเจ้าของ/ครอบครัว 62.6 แหล่งข้อมูล : สำนักเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
7
การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษา โรคพิษสุนัขบ้าในคน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรคให้มีความครอบคลุมครบถ้วน ถูกต้องทันเวลาและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในคน ให้เป็นพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
8
การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษา โรคพิษสุนัขบ้าในคน เป้าหมาย ๑. มีระบบการเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าที่สามารถตรวจจับโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. มีระบบการเก็บ/ส่งตัวอย่างและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยยืนยัน โรคพิษสุนัขบ้าที่มีประสิทธิภาพ ๓. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขสามารถดูแลรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติ โรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างถูกต้อง ๔. ประชาชนได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าที่ถูกต้อง ๕. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าอย่างถูกต้อง
9
การเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าในคน
กลยุทธ์ที่ ๑ การเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าในคน กลยุทธ์ที่ ๓ การควบคุมโรคเมื่อเกิดโรค พิษสุนัขบ้า กลยุทธ์ที่ ๒ การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในคน วัคซีน 100% ผู้เสียชีวิต=0 กลยุทธ์ที่ ๔ บูรณาการการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย กลยุทธ์ที่ ๕ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
10
กลยุทธ์ที่ ๑ การเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าในคน
กลวิธี ๑.๑ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคแก่บุคลากรสาธารณสุขและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๒ พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค และระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้มีความครอบคลุม สามารถนำ ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ พัฒนาระบบการเก็บ/ส่งตัวอย่างและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยยืนยัน โรคพิษสุนัขบ้า กรณีพบผู้ป่วย/ผู้เสียชีวิตที่สงสัยโรคพิษสุนัขบ้าหรือไข้สมองอักเสบ ที่ไม่ทราบสาเหตุทุกราย กลยุทธ์ กลวิธี และ แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1. ผู้สัมผัสโรค/สงสัยว่าสัมผัสโรค ต้องมาพบแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกราย กลวิธี 1.1 สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนัก แนวทางการดำเนินงาน 1.1.1 เข้าถึง-โดนใจ-ไปหาหมอ 1.1.2 จัดกิจกรรมรณรงค์/ปชส. กลวิธี 1.2 การค้นหาผู้ถูกกัดข่วน 1.2.1 พบหมาบ้า (หัวบวก) ต้องสอบสวนโรคทุกราย / ค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม 1.2.2 จัดทำแนวทางการค้นหาแบบติดตามการรับวัคซีนทุกราย
11
กลยุทธ์ที่ ๒ การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในคน
กลวิธี ๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุนให้มีบริการวัคซีน/อิมมูโนโกบูลิน ป้องกันโรค พิษสุนัขบ้าอย่างเพียงพอ ๒.๒ พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ สาธารณสุข และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความรู้ในการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคอย่างถูกต้องตาม แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า ๒.๓ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเรื่องการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า สำหรับสถานศึกษาและ บุคลากรสาธารณสุข กลยุทธ์ กลวิธี และ แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1. ผู้สัมผัสโรค/สงสัยว่าสัมผัสโรค ต้องมาพบแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกราย กลวิธี 1.1 สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนัก แนวทางการดำเนินงาน 1.1.1 เข้าถึง-โดนใจ-ไปหาหมอ 1.1.2 จัดกิจกรรมรณรงค์/ปชส. กลวิธี 1.2 การค้นหาผู้ถูกกัดข่วน 1.2.1 พบหมาบ้า (หัวบวก) ต้องสอบสวนโรคทุกราย / ค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม 1.2.2 จัดทำแนวทางการค้นหาแบบติดตามการรับวัคซีนทุกราย ๒.๔ การป้องกันโรคล่วงหน้าสำหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (สัตว์แพทย์ อาสาสมัครปศุสัตว์)
12
กลยุทธ์ที่ ๓ การควบคุมโรคเมื่อเกิดโรคพิษสุนัขบ้า
กลวิธี ๓.๑ การควบคุมโรคเมื่อเกิดโรคพิษสุนัขบ้า ๓.๒ ค้นหา ติดตามผู้สัมผัสโรคและกลุ่มเสี่ยงให้เข้ารับการดูแลรักษาและฉีด วัคซีนป้องกันโรคครบชุดทุกราย ๓.๓ ดำเนินการตามมาตรการควบคุมโรค กลยุทธ์ กลวิธี และ แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1. ผู้สัมผัสโรค/สงสัยว่าสัมผัสโรค ต้องมาพบแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกราย กลวิธี 1.1 สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนัก แนวทางการดำเนินงาน 1.1.1 เข้าถึง-โดนใจ-ไปหาหมอ 1.1.2 จัดกิจกรรมรณรงค์/ปชส. กลวิธี 1.2 การค้นหาผู้ถูกกัดข่วน 1.2.1 พบหมาบ้า (หัวบวก) ต้องสอบสวนโรคทุกราย / ค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม 1.2.2 จัดทำแนวทางการค้นหาแบบติดตามการรับวัคซีนทุกราย
13
การดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย
กลยุทธ์ที่ ๔ บูรณาการ การดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย กลวิธี ๔.๑ พัฒนาแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ร่วมกับ เครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้เป็นทิศทางเดียวกัน 4.2 บูรณาการการติดตามประเมินผล การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า กลยุทธ์ กลวิธี และ แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1. ผู้สัมผัสโรค/สงสัยว่าสัมผัสโรค ต้องมาพบแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกราย กลวิธี 1.1 สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนัก แนวทางการดำเนินงาน 1.1.1 เข้าถึง-โดนใจ-ไปหาหมอ 1.1.2 จัดกิจกรรมรณรงค์/ปชส. กลวิธี 1.2 การค้นหาผู้ถูกกัดข่วน 1.2.1 พบหมาบ้า (หัวบวก) ต้องสอบสวนโรคทุกราย / ค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม 1.2.2 จัดทำแนวทางการค้นหาแบบติดตามการรับวัคซีนทุกราย 4.3 ส่งเสริมการนำกฎหมายที่เกี่ยวข้องมาบังคับใช้ รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าให้เหมาะสม
14
กลยุทธ์ที่ ๕ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
กลวิธี ๕.๑ ผลิตพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์แก่เจ้าหน้าที่และประชาชนกลุ่มเสี่ยง ๕.๒ ประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ประชาชนในแนวกว้างและแนวลึก กลยุทธ์ กลวิธี และ แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1. ผู้สัมผัสโรค/สงสัยว่าสัมผัสโรค ต้องมาพบแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกราย กลวิธี 1.1 สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนัก แนวทางการดำเนินงาน 1.1.1 เข้าถึง-โดนใจ-ไปหาหมอ 1.1.2 จัดกิจกรรมรณรงค์/ปชส. กลวิธี 1.2 การค้นหาผู้ถูกกัดข่วน 1.2.1 พบหมาบ้า (หัวบวก) ต้องสอบสวนโรคทุกราย / ค้นหาผู้สัมผัสโรคเพิ่มเติม 1.2.2 จัดทำแนวทางการค้นหาแบบติดตามการรับวัคซีนทุกราย
15
Thank You!
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.