งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ การจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้ Backward design เรื่องพื้นที่ผิว และปริมาตร ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย

2 วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบ Backward design กับการเรียนรู้แบบปกติ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กับวิธีการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Backward design 3. เพื่อพัฒนาชุดการสอนเรื่อง พื้นที่และปริมาตร

3 การออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward design หรือการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
เป็นกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่กำหนดหลักฐาน การแสดงออกของผู้เรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ หรือตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังก่อน แล้วจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และแสดงความรู้ ความสามารถตามหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียน/กิจกรรม

4 การวางแผนหนึ่งหน่วยการเรียนรู้มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ๆ ดังนี้
ขั้นตอนที่1 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้หรือประเด็นการเรียนรู้หรือ เป้าหมายการเรียนรู้ โดยการกำหนดประเด็นหัวเรื่อง หน่วยการเรียนรู้ กำหนดเป้าหมายการสอน ขั้นตอนที่2 จัดทำผังการประเมินหรือวิเคราะห์ร่องรอยผลงานที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน หรือกำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ที่เป็นที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบการเรียนรู้ โดยมีวิการเรียงเนื้อหาจากง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยากขึ้น, เรียงลำดับก่อนหลัง, ตัวอย่างการประเมินจากกิจกรรมโครงงาน ก่อนจะประเมินครูต้องพิจารณาว่าจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้อะไรร่วมกับผู้เรียนบ้าง

5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชัพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ( ) จำนวน 112 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนที่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เลือกมา 2 กลุ่มเรียน จำนวน 52 คน

6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละข้อ กับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม) กำหนดเกณฑ์ค่า IOC. = 0.79 2. ค่าดัชนีความยากง่าย (Difficulty) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (P) ได้ค่าเท่ากับ 0.45

7 ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ดำเนินการสอน แบบปกติกับนักเรียนที่สอนโดยการใช้ขุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย การทดสอบค่า (t-test) ที่ t (.05 , d.f. 25) = 4.54 วิธีการสอน คะแนนที่ได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำนวนนักเรียน 1. การสอนแบบปกติ 2. การใช้ชุดกิจกรรมการสอน Backward design 26

8 มีความพึงพอใจปานกลาง
4. ความพึงพอใจของนักเรียนเกี่ยวกับการใช้การสอนแบบปกติกับ การสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design รายการ ระดับความพึงพอใจ S.D. ความหมาย 1. ด้านเนื้อหา 1.1 วิธีการสอนแบบปกติ 1.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design  3.57 4.62 3.68 2.51 มีความพึงพอใจปานกลาง มีความพึงพอใจมาก 2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 วิธีการสอนแบบปกติ 2.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.66 4.23  3.12 2.88 3. ด้านเวลาที่ใช้สอน 3.1 วิธีการสอนแบบปกติ 3.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.74 4.20 2.85 2.45 ผลรวม 4.1 วิธีการสอนแบบปกติ 4.2 วิธีการสอนโดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design 3.65 4.35 3.21 2.61

9 สรุปผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบ Backward design กับการเรียนรู้แบบปกติ ของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตสาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ พื้นที่และปริมาตร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

10 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการรู้แบบ Backward design วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพหน่วยการเรียนรู้เรื่องพื้นที่และปริมาตร พบว่า มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.35

11 ข้อเสนอแนะ 1. ควรจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design กับนักเรียนทั้งหมดที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้เรื่องพื้นที่และปริมาตร 2. ควรนำวิธีการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward design ไปใช้กับหน่วยการเรียนรู้อื่นๆ

12 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ


ดาวน์โหลด ppt ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google