งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชนไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชนไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบาย การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชนไทย
นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 4 ตุลาคม 2556 1

2 นโยบายเร่งด่วน ปรับปรุงระบบบริการ มีตัวชี้วัดในการวัดผลงาน
เพิ่มประสิทธิภาพของบริการในระบบ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง บริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) 2 2

3

4 4 4

5 การเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข
คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขเขต ส่วนภูมิภาค - สสจ./สสอ. - รพศ./รพท. รพช./รพสต. หน่วยงานในกำกับ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ องค์การมหาชน : โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ : องค์การเภสัชกรรม 5

6 โครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักตรวจและประเมินผล สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักบริหารงานบุคคล สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD

7 โครงสร้างสำนักงานเขตสุขภาพ เป็น Back up Office ของ AHB
สนง. ประสานงานเขต สตป/สป. สำนักงานเขตสุขภาพ กทม. งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานพัฒนาระบบบริการ งานบริหารทรัพยากร งานบริหารทั่วไป งานแผนงาน งาน MIS/IT งาน M&E และ KPI งานพัฒนาและแก้ไข ปัญหาพื้นที่ Service Plan Referral System EMS & PHER งานคุณภาพมาตรฐานบริการ การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน การลงทุน การบริหารงบประมาณ งานบริหารทั่วไป งานสนับสนุนเครือข่าย 7

8 สำนักงานเขตสุขภาพ CEO COO CCO CIO CSO CFO CHRO กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
สบรส. COO CCO กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการ กลุ่มงานบริหารทั่วไป กลุ่มงานบริหารทรัพยากร CIO CSO CFO CHRO COO= Chief Operational Officer เป็นเลขา ของทีม Service Provider Board

9 บทบาทของ Provider ในเขตสุขภาพ
* จัดระบบบริการสุขภาพ 4 มิติ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู รวมทั้งงานคุ้มครองผู้บริโภค * บริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายของกระทรวง โดยมีแผนร่วม - แผนลงทุนร่วม - แผนเงินบำรุงและแผนการใช้งบประมาณ - แผนการจัดซื้อยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ฯร่วม - ติดตาม ควบคุม กำกับงานและพัฒนา ปรับปรุง (M/E, Supervisor)

10 บทบาทของ Regulator ในเขตสุขภาพ
* ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามเป้าหมายของกสธ. - เขตบริการสุขภาพ - ท้องถิ่น - ภูมิภาค - เอกชน โดยติดตามดู ผลลัพธ์ (output/outcome) ที่เกิดกับปชช. - process ที่สำคัญ - การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลัง การพัสดุ - การบริหารบุคคล - ความโปร่งใส สุจริต

11 กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต
พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับเขต * จัดทำแนวทางการจัดตั้งสนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคน เช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน) * จัดตั้งคณะกก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต ( Service Provider Board ) * มอบนโยบายการบริหารแผนงานและข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ/ - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ

12 กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต
2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนดำเนินงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : วางแผนกำลังคน จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงานกสธ. การกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรมและเหมาะสม - บริหารงบประมาณ : บริหารงบ UC / Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ คุ้มค่า (ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้เขตบริหารเอง) - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุน/การใช้ทรัพยากรร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามเป้าหมายของกสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุวิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน

13 กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต
3. การจัดบริการร่วม * มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อ ตอบสนองเป้าหมายและตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย * มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขาและ ยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะ เครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต * ดำเนินการติดตามและบริหารผลการดำเนินงานตาม ระยะเวลา * ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานและการจัดบริการร่วม

14 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของเขตสุขภาพ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4 พฤศจิกายน 2556

15

16 Service Provider Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559
2560 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มาจากหน่วยงานในกระทรวงสธ. 2. การจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 3. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มี Stakeholder จากนอกกระทรวงสธ. 4. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มี Stakeholder ครอบคลุมทุกกลุ่ม 5. คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ วางแผนยุทธศาสตร์การทำงานของเขตสุขภาพ(AHB) ร่วมกับPurchaser

17 Regulator Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560
2. กำหนดโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ Regulator แยกจากสำนักงานเขตบริการสุขภาพ (ระดับเขต / จังหวัด / อำเภอ) 3. ดำเนินการตามบทบาท RO และเชื่อมโยงข้อมูลจากเขตสุขภาพ ไปยัง NHAO เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายระดับชาติ

18 ? Purchaser Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560
1.กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่าง Purchaser และ Service Provider (กลไกเบื้องต้น) 2.กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่าง Purchaser และ Service Provider (กลไกถาวร อาจเป็น AHB) 3. กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันของ 3 กองทุน และกองทุนอื่นๆรวม อปท. ? 4. เริ่มการดำเนินงานของ 3 กองทุน รวมทั้งกองทุนอื่นๆ รวม อปท. ในเขตสุขภาพ

19 หน่วยบริการในเขตสุขภาพ
Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560 วิเคราะห์ Existing & Gap Analysis เพื่อจัดทำแผนการเปลี่ยนแปลงให้สอดรับกับการทำงานเขตสุขภาพ ภายใต้แนวคิด 1. การกระจายอำนาจ 2. การบริหารทรัพยากรร่วม 3. การบริการแบบไร้รอยต่อ 4. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป้าหมาย : เข้าถึง เท่าเทียม เป็นธรรม 1.หน่วยบริการของ สป. และกรมต่างๆในสังกัด สธ. 2.หน่วยบริการระดับเขต,จังหวัด,อำเภอ (บางส่วน) 3.หน่วยบริการระดับเขต,จังหวัด,อำเภอ(ทั้งหมด) 4.หน่วยบริการภาครัฐ อื่นๆ นอก สธ. 5.หน่วยบริการเอกชนและท้องถิ่นในเขต

20 Area Health Board จะเริ่มดำเนินการ ปี 2559 และเสร็จสมบูรณ์ ปี 2560

21 สวัสดี

22

23

24 บทบาทใหม่ของหน่วยงานระดับเขต

25

26 บทบาทใหม่ของหน่วยงานระดับเขต


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชนไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google