งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน
สรุปผล ประชุมจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ระหว่างวันที่ 28 – 30 มกราคม ณ โรงแรมไม้แก้วดำเนินรีสอร์ท อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 กพร.ดย.

2 กำหนดงาน Core Function ตามภารกิจกรม จำนวน 5 งาน
ใบงานที่ 1 กำหนดงาน Core Function ตามภารกิจกรม จำนวน 5 งาน และ Non-Core Function

3 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
ใบงานที่ 1 เลือกงานภายใต้ภารกิจกรม ภารกิจด้านการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน 5.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ภารกิจด้านการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว ภารกิจด้านการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน

4 ใบงานที่ 2 กำหนด Value Proposition Statement ของแต่ละงาน (5 งาน)
(ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด)

5 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน Customer 1.เด็กที่ประสบปัญหาและพึงได้รับการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก ระบบงานบริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว ในการเข้าช่วยเหลือ คัดกรอง ฟื้นฟู ดูแล จัดบริการปัจจัยขั้นพื้นฐาน ส่งคืนครอบครัวหรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -กระบวนการให้บริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว ในการ คัดแยกเด็กออกจากครอบครัวทำให้เด็กเกิดความหวาดระแวงและไม่มีความไว้วางใจ -เด็กที่ถูกทารุณกรรมทางกายและจิตใจ ขาดการฟื้นฟูเยียวยาและติดตามอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม -ขาดการเตรียมความพร้อมเด็กและครอบครัวที่มีประสิทธิภาพก่อนส่งกลับหรือส่งต่อ -เด็กได้รับการฟื้นฟูเยียวยา ปกป้องคุ้มครองตัวเองได้ ไม่ถูกกระทำซ้ำ และสามารถกลับคืนสู่ครอบครัวและอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ

6 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน Customer 2.เด็กและเยาวชน ทั่วไปในชุมชน -ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปกป้องคุ้มครอง สิทธิหน้าที่ และทักษะการดูแลตัวเองของเด็กและเยาวชน -เครื่องมือในการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปกป้องคุ้มครอง สิทธิหน้าที่ และทักษะการดูแลตัวเองไม่มีความน่าสนใจ ไม่ตรงกับความต้องการ -เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมไม่ทั่วถึง -เด็กและเยาวชนได้รับรู้ถึงสิทธิและหน้าที่ และทักษะในการคุ้มครองตนเองจากช่องทางที่เข้าถึงได้หลากหลายช่องทาง

7 Stakeholder -อปท. -ชุมชน
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน Stakeholder -อปท. -ชุมชน สร้างระบบการเฝ้าระวังและคุ้มครองเด็ก (The Community Watch and Protection System) เพื่อมีกลไกการเฝ้าระวังและคุ้มครองในชุมชน -ค้นหา/คัดกรองเด็ก ประเมินเบื้องต้น -ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น (การทำงานกับชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เด็กมีความปลอดภัย) แจ้งเหตุ ส่งต่อ -ติดตามและประเมิน -ขาดแนวปฏิบัติในการทำงานที่เป็นระบบและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน -ขาดเจ้าหน้าที่ใน อปท. ที่รับผิดชอบ/นักวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญที่ทำหน้าในการปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน -กฎหมายไม่ได้ให้อำนาจหรือระบุให้อปท. บริหารจัดการในการปกป้องคุ้มครองเด็ก -ไม่มีกฎหมาย/ระเบียบว่าด้วยคุ้มครองเยาวชน เครื่องมือและองค์ความรู้ในการปกป้องคุมครองเยาวชน -บางกรณีที่ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากทีมจังหวัดที่ทันการณ์ -การเข้าถึงองค์ความรู้การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยงได้ง่ายหลากหลายช่องทาง และกระจายให้ทุกคนในชุมชนได้รับรู้ -เครือข่าย อาสาเฝ้าระวังในพื้นที่ที่ไม่ได้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่สามารถเข้าร่วมได้อย่างไม่มีเงื่อนไข -ได้รับการสนับสนุนระบบการช่วยเหลือเด็กและครอบครัวที่รวดเร็ว และการสนับสนุนทางการเงิน -มีช่องทางในการติดต่อขอคำปรึกษา จากจนท. อปท. และ บพด. ได้สะดวกรวดเร็ว ไม่มีค่าใช้จ่าย

8 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน Stakeholder -ครอบครัว -สหวิชาชึพ -หน่วยงานทาง การแพทย์ -สถานศึกษา -หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม การให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองมีทักษะในการเลี้ยงดูเด็กตามมาตรฐานขั้นต่ำ -การใช้ทรัพยากรในพื้นที่ในการจัดบริการให้แก่เด็กและครอบครัว -การประชุมสหวิชาชีพ -การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย และการคุ้มครองเด็ก -พ่อแม่ผู้ปกครองส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงองค์ความรู้ที่ ดย. จัดให้ -การล่วงอำนาจการปกครองเด็กจากพ่อแม่ผู้ปกครอง ส่งผลให้เกิดความกังวล ไม่ไว้วางใจและต่อต้าน -บพด./สธ.ขาดนักวิชาชีพสาขาจิตเวท -ขาดการกำหนดแผนการช่วยเหลือ/การตัดสินใจที่ทันการณ์ของทีม สหวิชาชีพในกรณีเด็กกลุ่มเสี่ยงสูง -อยากได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้ในการปกป้องคุ้มครองเด็กให้ครอบคลุม ทั่วถึง และทันสมัย -เข้าถึงการให้คำปรึกษาด้านการคุ้มครองเด็กได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว -แผนการช่วยเหลือครอบคลุมทุกมิติ (กายจิต สังคม ครอบครัว และสิ่งแวดล้อม)

9 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน -ภาคีเครือข่าย --อาสาสมัคร -- NGO -- ผู้นำท้องถิ่น/ท้องที่ --สภาเด็กและเยาวชน -การสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับบทบาทความรับผิดชอบ และความรู้ความเข้าใจในการปกป้องคุ้มครองเด็ก -การสร้างช่องทางในการรายงานการแจ้งเหตุและการประสานส่งต่อ -การใช้ทรัพยากรในพื้นที่ในการจัดบริการให้แก่เด็กและครอบครัว -ไม่รู้บทบาทตนเองในการสนับสนุนโครงการ -การเข้าไม่ถึงข้อมูลและองค์ความรู้การคุ้มครองเด็กในระดับท้องถิ่น -ต้องการรู้บทบาทตนเองในการสนับสนุนโครงการ -ต้องการเข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้การคุ้มครองเด็กในระดับท้องถิ่น

10 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 2.งานเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด Customer เด็กแรกเกิด - 3 ปี ในครอบครัวยากจนและเสี่ยงความยากจน แม่ตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดที่ลงทะเบียนขอรับสิทธิฯ ผู้เลี้ยงดูเด็ก -สำรวจ คัดกรองตรวจสอบคุณสมบัติ และประกาศสิทธิ ผู้มีสิทธิเข่าร่วมโครงการ -จัดทำฐานข้อมูลทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ -ให้เงินอุดหนุนแก่แม่ที่เข้าร่วมโครงการ -ให้ความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ถูกต้องได้มีการพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย -จัดให้มีโปรแกรมดูแลแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง -กลุ่มเป้าหมายที่แท้จริงที่มีคุณสมบัติและตรงตามเงื่อนไขเข้าไม่ถึงบริการเนื่องจากการสำรวจตกหล่น หรือไม่ทราบข้อมูล -ไม่เข้าใจสิทธิของตนเองตามโครงการ -สร้างและพัฒนาช่องทางการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพ ชัดเจน และตรงกลุ่มเป้าหมาย -ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความรู้ความเข้าใจหญิงตั้งครรภ์ให้มีความพร้อมในการเลี้ยงดูลูกอย่างต่อเนื่อง และถูกวิธี -พัฒนาระบบฐานข้อมูลโครงการให้มีความสมบูรณ์ เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ เพื่อการดูแลแม่ลูกอย่างต่อเนื่องและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ

11 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 2.งานเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด (ต่อ) Stakeholder อปท. สำนักงาน พมจ. บ้านพักเด็กและครอบครัว สธ. มท. กค. ศธ. TDRI Unicef อาสาสมัคร ครอบครัวแม่และเด็ก ชุมชน -สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการ การสำรวจ คัดกรอง รับรองผู้มีสิทธิเข้าร่วมโครงการ -ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจในการดำเนินโครงการ รวมทั้งให้เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์และหลังคลอดให้ได้รับการเลี้ยงดูที่ดีมีพัฒนาการตามวัย -ติดตามประเมินผลการให้เงินอุดหนุนและการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด -พิจารณา ทบทวน วิเคราะห์ และดำเนินการตามนโยบาย ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินโครงการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล -กระบวนการตรวจสอบสิทธิและการแจ้งสิทธิยังไม่ชัดเจน -ความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้องไม่เพียงพอ -อปท.ไม่ทราบแนวทาง หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของโครงการที่ชัดเจนและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน -สร้างเครือข่ายครอบครัวและชุมชนเพื่อการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย -เสนอแนะแนวทางและข้อกำหนด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการดำเนินโครงการตามหลักวิชาการและฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้รัฐบาลรับทราบและพิจารณาอย่างต่อเนื่อง -ปรับบทบาทและภารกิจของกรมเน้นการศึกษา วิจัยเพื่อการพัฒนาและกำหนดนโยบายของโครงการ -ถ่ายโอนภารกิจที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารจัดการ งานค้นหา งานคัดกรอง งานการลงทะเบียน งานตรวจสอบสิทธิ และการรับรองสิทธิให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินการอย่างครบวงจร

12 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน Customer สภาเด็กและเยาวชน
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน Customer สภาเด็กและเยาวชน -คณะกรรมการบริหาร -สมาชิกสภา -ให้คำแนะนำและมี ส่วนร่วมกับ อปท. ในการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ -ส่งเสริมสนับสนุนองค์ความรู้ด้านเด็กและเยาวชน ทรัพยากร และการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ -ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน -สภาเด็กและเยาวชน ไม่ทราบบทบาทที่ชัดเจนของตนเอง -ไม่ได้รับการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง -ต้องการพื้นที่ในการแสดงออกถึงบาทบาทของตนเอง หรือพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรม -สร้างกลไก เครื่องมือและระบบในการขับเคลื่อนงานกิจการสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ -พัฒนาระบบฐานข้อมูลสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีความสมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง

13 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน (ต่อ) stakeholder -อปท. -สร้างความร่วมมือและกลไกในพื้นที่สนับสนุนในการดำเนินกิจการสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ -สนับสนุนองค์ความรู้และทรัพยากรที่จำเป็นให้ อปท. มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานกิจการสภาเด็กและเยาวชน -อปท.ไม่ทราบบทบาทที่ชัดเจนในการมีส่วนร่วมการขับเคลื่อนงานกิจการสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ -กลไกสภาเด็กและเยาวชนสามารถดำเนินบทบาทเป็นผู้สนับสนุนการสำรวจค้นหา ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางแผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้แก่ อปท.

14 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน (ต่อ) stakeholder (ต่อ) -ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา -สร้างการรับรู้ให้กับครอบครัว ชุมชน สถานศึกษาถึงบทบาทของสภาเด็กและเยาวชนในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนในระดับพื้นที่ -จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ -ไม่ทราบหน้าที่ของสภาเด็กและเยาวชนที่มีบทบาทในชุมชนเพื่อช่วยส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในชุมชน -ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาสภาเด็กและเยาวชน

15 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน Customer 1.เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี ที่ประสบปัญหาสังคมจำเป็นต้องรับการสงเคราะห์ในสถานรองรับ 2.เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี ที่อยู่ในระบบครอบครัวทดแทน (ครอบครัวบุญธรรม และครอบครัวอุปถัมภ์) 3. เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี ที่ประสบปัญหาสังคมในครอบครัวยากจน 1. เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี -การสงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพในสถานรองรับโดยการจัดสวัสดิการขั้นพื้นฐาน การบริการด้านปัจจัยสี่ การเลี้ยงดู อบรม -การพัฒนาศักยภาพเด็กตามความสามารถของเด็ก เช่น การศึกษา ฝึกอาชีพ โดยมีหลักสูตรการพัฒนาเด็กในสถานรองรับ ที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย -เด็กมีความรู้สึกมีปมด้อยว่าเป็นเด็กในสถานสงเคราะห์ทำให้รู้สึกไม่มีความมั่นใจในการใช้ชีวิตภายนอกสถานรองรับ -เด็กไม่ได้รับการเลี้ยงดูเสมือนในครอบครัวจริง -การเลี้ยงดูเด็กที่มีจำนวนมากในสถานรองรับโดยเฉพาะสถานรองรับเด็กเล็กซึ่งขาดพี่เลี้ยงเด็ก ส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และอารมณ์ของเด็ก -เด็กได้รับการช่วยเหลือฟื้นฟู เยียวยาในสถานรองรับให้กลับเข้าสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว -เด็กได้รับการเลี้ยงดูในครอบครัวทดแทน ได้รับความรัก ความอบอุ่น และเติบโตในสภาพแวดล้อมของครอบครัวตามหลักการของสิทธิเด็กโดยไม่ต้องเข้าไปอยู่ในความดูแลของสถานรองรับ -เด็กมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -เด็กได้รับการเลี้ยงดูและพัฒนาที่เหมาะสมตามช่วงวัย

16 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน (ต่อ) 2.เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี ที่อยู่ในระบบครอบครัวทดแทน (ครอบครัวบุญธรรม และครอบครัวอุปถัมภ์) -การจัดหาครอบครัวทดแทน ทั้งชั่วคราวและถาวร ให้เด็กได้เติบโตในสภาวะแวดล้อมของครอบครัว โดยมีคู่มือ/วิธีการการเตรียมความพร้อมเด็กและครอบครัวก่อนนำเด็กให้ครอบครัวทดแทน การจ่ายเงินช่วยเหลือเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ในรูปแบบปัจจุบันเป็นการจ่ายเงินสดผ่านหน่วยงานและผู้รับบริการโดยตรง ทำให้ผู้รับเงินอาจจะได้รับเงินล่าช้าและบางรายไม่ได้รับเงินครบถ้วน เด็กได้รับเงินช่วยเหลือโดยตรง ครบถ้วน อย่างรวดเร็ว

17 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน (ต่อ) 3. เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี ที่ประสบปัญหาสังคมในครอบครัวยากจนที่อยู่ในชุมชน -การจ่ายเงินสงเคราะห์ในรูปแบบการจ่ายเงินสงเคราะห์ในครอบครัวยากจนที่อยู่ในชุมชน การจ่ายเงินช่วยเหลือเด็กในครอบครัวยากจนในรูปแบบปัจจุบันเป็นการจ่ายเงินสดผ่านหน่วยงานและผู้รับบริการโดยตรง ทำให้ผู้รับเงินอาจจะได้รับเงินล่าช้าและบางรายไม่ได้รับเงินครบถ้วน เด็กได้รับเงินช่วยเหลือโดยตรง ครอบถ้วน อย่างรวดเร็ว

18 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน (ต่อ) Stakeholder ครอบครัวบุญธรรม (Adoption) ครอบครัวอุปถัมภ์ (Foster Care) -กระบวนการคัดเลือกครอบครัวบุญธรรม การพิจารณาคุณสมบัติและอนุมัติ ครอบครัวบุญธรรมให้เป็นผู้ที่สามารถรับเด็กไปเลี้ยงดู -การเตรียมความพร้อม ให้ความรู้ความเข้าใจของครอบครัวในการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อพัฒนาเด็กตามช่วงวัย -กระบวนการครอบครัวอุปถัมภ์ระยะสั้น (Short Term Foster Care) และครอบครัวอุปถัมภ์ระยะยาว (Long Term Foster Care) -ระยะเวลาในการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมใช้ระยะเวลาในการรอคอยการพิจารณาที่นาน -การติดตามสถานการณ์การเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวไม่ต่อเนื่อง ทำให้การจ่ายเงินให้แก่เด็กไม่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสงเคราะห์อย่างแท้จริง -สามารถติดตามความก้าวหน้าการพิจารณาได้ด้วยตนเองผ่านช่องทางระบบ IT

19 ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน (ต่อ) Stakeholder ครอบครัวยากจน (เงินสงเคราะห์) บ้านพักเด็กและครอบครัว พมจ. สถานรองรับ NGOs มูลนิธิ อปท. โรงเรียน องค์การธุรกิจ CSR องค์กรระหว่างประเทศ จิตอาสา ครอบครัวที่ต้องการเลี้ยงดูเด็ก -การจ่ายเงินสงเคราะห์ให้แก่ครอบครัวยากจน -การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน เครือข่าย ในการจัดหา คัดกรองครอบครัวทดแทนที่เหมาะสมให้กับเด็ก -การสร้างความเข้าใจในกระบวนการคัดเลือก ประเมินความพร้อมของครอบครัวอย่างละเอียดรอบคอบ - -ระบบการติดตามระบบครอบครัวทดแทนไม่มีประสิทธิภาพ

20 ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Value Proposition Statement ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ กลุ่มเป้าหมาย Customer job Pains gains 5.งานส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน Customer -เด็กและเยาวชนอายุ ปี -เยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา -เยาวชนที่ว่างงานหรือเยาวชนที่สนใจทำงาน -เยาวชนที่ประสบปัญหาทางสังคม Stakeholder -ครอบครัว -อปท. -สถาบันการศึกษา -ภาคธุรกิจ -ภาคเอกชน -ภาคประชาสังคม -การพัฒนาทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 -การพัฒนาทักษะความเป็นพลเมือง -การพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการในการทำงานยุคไทยแลนด์ 4.0 -การส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน -เด็กและเยาวชนยังไม่ได้รับการเสริมสร้างทักษะทั้ง 3 ด้านนี้จาก ดย. อย่างทั่วถึงและเข้มข้น -ความไม่ต่อเนื่องของกิจกรรม/โครงการ -การสื่อสารที่ไม่ทั่วถึง -ขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน ดย. กำหนดแผนงานโครงการในการส่งเสริมทักษะ 3 ด้านนี้อย่างมี กระบวนการ แผนงาน งบประมาณ และผู้ที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลความสำเร็จทั้ง 3 ด้าน จากกลุ่มเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม ต่อเนื่อง -สร้างแผนการดำเนินงานส่งเสริมศักยภาพเด็กและเยาวชนร่วมกันอย่างเป็นระบบ

21 Value Proposition Statement (ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน)
1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน “รวดเร็ว ฉับไว อยู่รอดปลอดภัย มีสุข” 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด “ส่งเสริมการเกิดและเติบโตอย่างมีคุณภาพ” 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน “กระบวนการสร้างคนสร้างชาติ” 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน “ช่วยเหลือ ฟื้นฟู ดูแล พัฒนา” 5.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ”เติมเต็มทักษะ เสริมสร้างโอกาส” Value Proposition Statement (ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน) “องค์การแห่งการคุ้มครอง ส่งเสริม เติมเต็มทักษะการใช้ชีวิตเด็กและเยาวชนเทียบเท่าระดับสากล”

22 ใบงานที่ 3 จัดทำ Portfolio Analysis ของแต่ละงาน
(ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด) **ข้อมูลจัดส่งให้กระทรวง**

23 (ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์) คะแนนแกนนอน
ผลการวิเคราะห์ Portfolio Analysis : กรมกิจการเด็กและเยาวชน งาน คะแนนแกนตั้ง (ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์) คะแนนแกนนอน (ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ) 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน 2 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 3 3.งานเสริมสร้างศักยภาพ สภาเด็กและเยาวชน 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน 5.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน 1

24 งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด (..........อัตรา)
3. แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ : Portfolio Analysis : กรมกิจการเด็กและเยาวชน ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ แข็งแรง ปานกลาง อ่อนแอ งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ( อัตรา) สูง งานสริมสร้างศักยภาพสภาเด็ก และเยาวชน ( อัตรา) งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ( อัตรา) ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ กลาง งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน ( อัตรา) งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน ( อัตรา) ต่ำ ขนาดของ Bubble ขึ้นอยู่กับตัวแปรอัตรากำลัง (ยังไม่สมบูรณ์) หมายเหตุ : ขนาดของ bubble แสดงถึงจำนวนอัตรากำลังของงานนั้น ๆ

25 ใบงานที่ 4 อธิบายกิจกรรม ภายใต้งาน Core Function ที่กำหนด
(ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด)

26 ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.1 การวิเคราะห์ภารกิจของกรมในปัจจุบัน (As-Is) แบบฟอร์ม วิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรองของ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) ภารกิจด้านการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน 1.1 กิจกรรม : งานระบบบริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว 1)การเข้าช่วยเหลือ 2)คัดกรอง 3)ฟื้นฟู ดูแล 4)จัดบริการปัจจัยขั้นพื้นฐาน 5)ส่งคืนครอบครัวหรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.2 กิจกรรม : งานสร้างกลไกการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น 1)การจัดทำข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพื้นที่เป้าหมาย 2)การจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กของ อปท. 3)การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ 4)การคัดกรองเด็กโดยเครื่องมือการคัดกรองเด็กตามมาตรฐานการเลี้ยงดูเด็กขั้นต่ำ /การบันทึกข้อมูลเด็กรายบุคคล 5)การจัดทำแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 6)การจัดบริการตามแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 7)การประเมิน การทบทวนแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 1.3 กิจกรรม : งานส่งเสริมความรู้ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชน 1)ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและองค์ความรู้ในเรื่องการปกป้องคุ้มครอง สิทธิหน้าที่ และทักษะการดูแลตัวเองของเด็กและเยาวชน 2)การจัดกิจกรรมเชิงป้องกันสำหรับเด็ก ครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย

27 ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.1 การวิเคราะห์ภารกิจของกรมในปัจจุบัน (As-Is) แบบฟอร์ม วิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรองของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) ภารกิจการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2.1 กิจกรรม : งานพัฒนานโยบาย 1)ศึกษา พัฒนา ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี่ยงดูเด็กแรกเกิดให้เหมาะสมตาม สถานการณ์ 2)ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน 3)สื่อสารประชาสัมพันธ์โครงการ 2.2 กิจกรรม : งานลงทะเบียนและจ่ายเงิน 1)สำรวจ คัดกรอง ตรวจสอบคุณสมบัติ และประกาศสิทธิ 2)รับลงทะเบียน จัดทำฐานข้อมูล บูรณาการฐานข้อมูลเด็กแรกเกิดสู่ระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลประชาชน กลาง (Population Information Linkage Center) และฐานข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3)จัดทำงบประมาณสนับสนุนโครงการ 4)ประสานการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 5)ให้ข้อมูล ตอบข้อซักถามแก่กลุ่มเป้าหมาย 2.3 กิจกรรม : งานพัฒนากลุ่มเป้าหมาย -ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมโอกาสในการหารายได้หรือการฝึกอาชีพ และให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็กแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเด็กในโครงการ 2.4 กิจกรรม : งานติดตามและประเมินผล -ติดตามประเมินผลโครงการ

28 ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.1 การวิเคราะห์ภารกิจของกรมในปัจจุบัน (As-Is) แบบฟอร์ม วิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรองของ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) ภารกิจด้านการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน 3.1 กิจกรรม : งานจัดตั้ง และทะเบียน 1)ส่งเสริมกระบวนการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ 2)การจัดทำทะเบียนและข้อมูลสภาเด็กและเยาวชน 3.2 กิจกรรม : งานนโยบาย วิชาการ และประสานงาน 1)พัฒนานโยบาย วิชาการด้านการส่งเสริมและพัฒนาสภาเด็กและเยาวชน 2)ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน 3)จัดทำระบบฐานข้อมูลกลางสภาเด็กและเยาวชน 4)สนับสนุนองค์ความรู้และให้คำแนะนำปรึกษาในการดำเนินงานให้กับกิจการสภาเด็กและเยาวชน 3.3 กิจกรรม : งานส่งเสริมสนับสนุนกิจการสภาเด็กและเยาวชน 1)ส่งเสริมสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ 2)บูรณาการ สร้างความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนทรัพยากรให้กับสภาเด็กและเยาวชนเพื่อดำเนินกิจการตามแผน 3.4 กิจกรรม : งานติดตามและประเมินผล -ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน

29 ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) 
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.1 การวิเคราะห์ภารกิจของกรมในปัจจุบัน (As-Is) แบบฟอร์ม วิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรองของ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) ภารกิจการส่งเสริมสวัสดิการเด็กและครอบครัว 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน 4.1 กิจกรรม : งานสวัสดิการสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก 1)การสงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพในสถานรองรับโดยการฟื้นฟู ดูแล พัฒนา การจัดสวัสดิการขั้นพื้นฐาน การบริการด้านปัจจัยสี่ การเลี้ยงดู อบรม ฯลฯ 2) การพัฒนาศักยภาพเด็กตามความสามารถของเด็ก เช่น การศึกษา ฝึกอาชีพ โดยมีหลักสูตรการพัฒนาเด็กในสถานรองรับ ที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย 4.2 กิจกรรม : งานครอบครัวบุญธรรม 1) กระบวนการจัดหาครอบครัวบุญธรรม 2) การการเตรียมความพร้อมเด็กและครอบครัวก่อนนำเด็กให้ครอบครัวบุญธรรม 3) การติดตามประเมินผลครอบครัวบุญธรรม 4.3 กิจกรรม : งานครอบครัวอุปถัมภ์ 1) ครอบครัวอุปถัมภ์ระยะสั้น (Short Term Foster Care) 2) ครอบครัวอุปถัมภ์ระยะยาว (Long Term Foster Care) 4.4 กิจกรรม : งานสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน -การจ่ายเงินสงเคราะห์ให้เด็กในครอบครัวยากจน

30 ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.1 การวิเคราะห์ภารกิจของกรมในปัจจุบัน (As-Is) แบบฟอร์ม วิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรองของ กรมกิจการเด็กและเยาวชน ภารกิจ ประเภท* C NC (TS) (AS) ภารกิจด้านการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชน 5.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน 5.1 กิจกรรม : การพัฒนาทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 5.2 กิจกรรม : การพัฒนาทักษะความเป็นพลเมือง 5.3 กิจกรรม : การพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการในการทำงานยุคไทยแลนด์ 4.0

31 ใบงานที่ 5 วิเคราะห์ภาพรวม ประเด็น
Government 4.0 : ดย. 4.0 (ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด) **ข้อมูลจัดส่งให้กระทรวง**

32 Critical success factor
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Government 4.0 : กรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน 1 1 Collaboration -สร้างเครือข่ายการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในแนวราบที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGO องค์กรระหว่างประเทศ อปท. ชุมชน สภาเด็กและเยาวชน และอาสาสมัคร -สร้างและขยายความร่วมมือกับ อปท. หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ในการพัฒนาศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน และส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนในประเทศ -ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสงเคราะห์เด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูเด็กให้อยู่ในคอบครัว -สร้าง ขยาย และประสานความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐทั้งในส่วนกลางและระดับพื้นที่ ภาคีเครือข่าย อาสาสมัคร ภาคธุรกิจเอกชนในลักษณะเครือข่ายประชารัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กในทุกมิติ 2 Innovation สร้างระบบ Cloud Office ของบ้านพักเด็กและครอบครัว สร้าง Youth Center แบบครบวงจร 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 3 Digitization สร้าง Application ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนในทุกมิติเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารและการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายร่วมกันอย่างทันสมัย ครบวงจร - สร้างระบบฐานข้อมูลด้านเด็กและเยาวชนที่จัดเก็บและประมวลผลสามารถเชื่อมโยงแบบ real time และเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) ตามนโยบายรัฐบาล -พัฒนาฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกกลุ่มที่สามารถเชื่อมโยงทั้งในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ ในระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับชาติ รวมทั้งเชื่อมโยงฐานข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) ตามนโยบายรัฐบาล -ปรับบทบาทของบ้านพักเด็กและครอบครัวให้เป็นหน่วยงานให้บริการด้านคุ้มครอง สวัสดิการ และพัฒนาศักยภาพเด็กและยาวชนแบบครบวงจร

33 Critical success factor
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Government 4.0 : กรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ 3 Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย -มีระบบฐานข้อมูลที่จัดเก็บและประมวลผลสามารถเชื่อมโยงแบบ real time และสามารถนำไปศึกษา วิเคราะห์ รายงาน กำหนดเป็นนโยบาย พร้อมทั้งมีระบบการป้อนกลับ (Feedback) เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ด้านเด็กและเยาวชนอย่างทันการณ์ -ปรับระบบและวิธีการจ่ายเงินสวัสดิการต่างๆ ผ่านระบบ e-payment ของรัฐบาล เพื่อเป็นการให้บริการที่รวดเร็ว ทันสมัย ตรงกับความต้องการของประชาชน

34 Critical success factor
1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ 1 Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน สร้างเครือข่ายการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในแนวราบที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGO อปท. ชุมชน สภาเด็กและเยาวชน และอาสาสมัคร 1 Collaboration การประสานความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐทั้งในส่วนกลางและระดับพื้นที่ รวมทั้งภาคีเครือข่าย อาสาสมัคร 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกกลุ่มที่สามารถเชื่อมโยงทั้งในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ ในระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับชาติ 2 Innovation การมี Cloud Office บพด. ในชุมชน สร้าง Application การรับแจ้งเหตุ/บันทึกข้อมูล และด้านอื่นๆ ที่ช่วยในการสนับสนุนระบบการคุ้มครองในพื้นที่ 3 Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย การเพิ่มช่องทางการแจ้งเหตุ/บันทึกข้อมูลเด็กที่รวดเร็วและทันสมัย สร้างช่องทางที่หลากหลายในการส่งเสริมความรู้ให้กับภาคีเครือข่าย ที่กว้างขวาง 3 Digitization ระบบคัดกรองเด็กที่ได้มาตรฐาน และระบบโปรแกรม CMST พัฒนาฐานข้อมูลให้เป็น Big Data

35 Critical success factor
2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงบริการภาครัฐในการตรวจสอบสิทธิและดูแลแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง เพิ่มประสิทธิภาพของกลไกบริหารจัดการและติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วมกับพื้นที่ ท้องถิ่น ชุมชน อาสาสมัคร Collaboration ขยายความร่วมมือประชารัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กในทุกมิติ รวมทั้งพัฒนาพ่อแม่ผู้ปกครองด้านทักษะการเลี้ยงดูเด็กและการส่งเสริมให้มีอาชีพสามารถพึ่งตนเองได้ในระยะยาว 1 1 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพิ่มช่องทางให้ประชาชนเข้าถึงบริการ รับรู้สิทธิ และข้อมูลความรู้การเลี้ยงดูเด็ก พัฒนาฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลสวัสดิการแห่งรัฐ 2 Innovation สร้าง social lab เป็นช่องทางให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันทำงาน 3 Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย มีระบบฐานข้อมูลที่จัดเก็บและประมวลผลสามารถเชื่อมโยงแบบ real time และสามารถนำไปศึกษา วิเคราะห์ รายงาน โดยคณะทำงานแบบบูรณาการ 3 Digitization ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการปฏิบัติงาน ให้บริการ วิเคราะห์ และประมวลผล

36 Critical success factor
3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน -สร้างความร่วมมือกับ อปท. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน Collaboration 1 1 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง -พัฒนาฐานข้อมูลกลางสภาเด็กและเยาวชน 2 Innovation -สร้างช่องทางการสื่อสารและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่ทันสมัย ผ่าน Application 3 Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย 3 Digitization

37 Critical success factor
4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน - เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วมให้ประชาชนเข้าถึงและเข้ามามีส่วนร่วมในการเลี้ยงดูเด็กในสถานรองรับ - เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านครอบครัวครอบครัวอุปถัมภ์ - ขยายการมีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆ เช่น องค์กรธุรกิจ (CSR) องค์กรเอกชน องค์กรระหว่างประเทศ ให้เข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบทางสังคมในการสนับสนุนด้านต่างๆ เช่น ทรัพยากร องค์ความรู้ เจ้าหน้าที่ เพื่อช่วยเหลือ อุปการะเลี้ยงดู 1 1 Collaboration บูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการงานครอบครัวทดแทนทั้งระบบ 2 Digitization เพิ่มช่องทางการสื่อสารผ่าน Application หรือช่องทางเทคโนโลยีอื่นๆ โดย ดย. เป็น Admin

38 Critical success factor
4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน (ต่อ) ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ยึดประโยชน์สูงสุดเด็กเป็นหลัก โดยคำนึงถึงหลักการของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (เด็กมีสิทธิที่จะเติบโตท่ามกลางสภาวะแวดล้อมของครอบครัวด้วยบรรยากาศของความสุข ความรักและความเข้าใจ) พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1 Innovation ให้สถานรองรับ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการในการประสานงานการจัดหาครอบครัวทดแทน โดยการระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนในการทำงานดังกล่าว Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย ปรับระบบและวิธีการจ่ายเงินช่วยเหลือผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการให้บริการที่รวดเร็ว ทันสมัย ตรงกับความต้องการของประชาชน เชื่อมโยงข้อมูลกับ Big data ของรัฐบาล เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ 3 Digitization สร้าง Big data สร้างการสื่อสารสังคม Online 1

39 Critical success factor
5.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ประเด็น Gov 4.0 : กระทรวง 4.0 Critical success factor บทบาทของกระทรวงในการนำไปสู่ Gov 4.0 จะต้องเป็นอย่างไรหรือทำอะไรเพื่อขับเคลื่อน Gov 4.0 ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ Gov 4.0 บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ Open & Connected Government : เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ค้นหากลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นระบบ ครอบคลุม พัฒนาช่องทางการเข้าถึงบริการ บูรณาการประชารัฐและกระทรวงหลักทั้งระดับนโยบายและปฏิบัติ Collaboration ความพร้อมและความเข้มแข็งของครอบครัว พัฒนาภารกิจของท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน มีแผนบูรณาการกับกระทรวงสังคม/เศรษฐกิจ อาสาพัฒนาเด็กและเยาวชน 1 1 2 Citizen-Centric Government : ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาเยาวชนสอดคล้องความต้องการของ ปท. พัฒนารูปแบบบริการที่ทันสมัย บนพื้นฐานของการวิจัยและนวัตกรรม สร้างเมนูการพัฒนาศักยภาพ/CM 2 Innovation ศูนย์การพัฒนาศักยภาพเยาวชนตำบล กองทุนส่งเสริมการพัฒนาเยาวชน 3 Smart & High Performance Government : มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย พัฒนา ยกระดับหน่วยงานให้เป็น center สำหรับเยาวชน พัฒนาบุคลากรให้เป็นนักจัดการกิจกรรมเยาวชน 3 Digitization มีฐานข้อมูลที่แม่นยำ ครอบคลุม ทันสมัย โปรแกรม/App ที่สะดวกต่อการเข้าถึง ระบบการติดตาม/ประเมินผลอิเล็กทรอนิกส์

40 ใบงานที่ 6 วิเคราะห์ข้อเสนอการ ปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ ของกรม (To-Be)
จาก Core Function (ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด) **ข้อมูลจัดส่งให้กระทรวง**

41 ภารกิจหลัก (Core function) แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน: ภารกิจหลัก (Core function) ภารกิจหลัก (Core function) บทบาทภาครัฐ แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to) (As-Is) (To-Be) 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน 1.1 กิจกรรม : งานระบบบริการของบ้านพักเด็กและครอบครัว 1) การเข้าช่วยเหลือ 2) คัดกรอง 3) ฟื้นฟู ดูแล 4) จัดบริการปัจจัยขั้นพื้นฐาน 5) ส่งคืนครอบครัวหรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.2 กิจกรรม : งานสร้างกลไกการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น 1)การจัดทำข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพื้นที่เป้าหมาย 2) การจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กของ อปท. 3) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ 4) การคัดกรองเด็กโดยเครื่องมือการคัดกรองเด็กตามมาตรฐานการเลี้ยงดูเด็กขั้นต่ำ /การบันทึกข้อมูลเด็กรายบุคคล5.การจัดทำแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 6) การจัดบริการตามแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 7) การประเมิน การทบทวนแผนการช่วยเหลือรายบุคคล 1.3 กิจกรรม : งานส่งเสริมความรู้ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชน 1) ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและองค์ความรู้ในเรื่องการปกป้องคุ้มครอง สิทธิหน้าที่ และทักษะการดูแลตัวเองของเด็กและเยาวชน 2) การจัดกิจกรรมเชิงป้องกันสำหรับเด็ก ครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย Operator Operator/ Facilitator Smart Regulator/ Inspector Policy Advisor - ปรับบทบาทบ้านพักเด็กและครอบครัวให้มีอำนาจหน้าที่และดำเนินภารกิจให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของกรม และส่งเสริมสนับสนุนให้ อปท. และเครือข่าย มีส่วนร่วมในกระบวนการช่วยเหลือ คัดกรองในพื้นที่ - สร้างเครือข่ายความร่วมมือการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในแนวราบที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGO ชุมชน สภาเด็กและเยาวชน และอาสาสมัคร - สนับสนุนและสร้างความร่วมมือให้ อปท. และ NGO ดำเนินการระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ - พัฒนาฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับ Big Data - สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนที่เข้าถึงง่าย สะดวก และรวดเร็ว -ปรับปรุงกฎและระเบียบค่าใช้จ่ายให้ อปท. สามารถดำเนินการและสนับสนุนการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ -พัฒนาบุคลากรให้มีผู้เชี่ยวชาญในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน -สรรหาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขา (กฎหมาย สังคมสงเคราะห์ จิตวิทยา สวัสดิการและบริการ การพัฒนาเด็กและ เยาวชน) เพื่อช่วยในการดำเนินงานคุ้มครองเด็กและเยาวชน

42 ภารกิจหลัก (Core function) แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน: ภารกิจหลัก (Core function) ภารกิจหลัก (Core function) บทบาทภาครัฐ แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to) (As-Is) (To-Be) 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2.1 กิจกรรม : งานพัฒนานโยบาย 2.2 กิจกรรม : งานลงทะเบียนและจ่ายเงิน 2.3 กิจกรรม : งานพัฒนากลุ่มเป้าหมาย 2.4 กิจกรรม : งานติดตามและประเมินผล Policy Advisor Operator/ Regulator Operator New Operator/ New Inspector New -พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เอื้อต่อกระบวนการเข้าถึงสิทธิและตรวจสอบสิทธิ -พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงบริการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง -ถ่ายโอนงานการค้นหา งานคัดกรอง งานรับลงทะเบียน การตรวจและรับรองสิทธิ์ ให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินการ รวมทั้งการจัดทำคำของบประมาณประจำปี -ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการส่งเสริมโอกาสในการหารายได้หรือการฝึกอาชีพ และให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็กแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเด็กในโครงการ - ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคปรับบทบาทและภารกิจเป็นการติดตามประเมินผล การศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาและกำหนดนโยบายงานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด

43 ภารกิจหลัก (Core function) แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน: ภารกิจหลัก (Core function) ภารกิจหลัก (Core function) บทบาทภาครัฐ แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to) (As-Is) (To-Be) 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน 3.1 กิจกรรม : งานจัดตั้ง และทะเบียน 3.2 กิจกรรม : งานนโยบาย วิชาการ และประสานงาน 3.3 กิจกรรม : งานส่งเสริมสนับสนุนกิจการสภาเด็กและเยาวชน 3.4 กิจกรรม : งานติดตามและประเมินผล Operator/ Regulator Policy Advisor Facilitator Operator New Operator/ New Operator -ถ่ายโอนภารกิจด้านการบริหารจัดการการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้เป็นของ อปท. -ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ อปท. หรือหน่วยงานอื่นสามารถสนับสนุนงบประมาณ การดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนได้ในทุกระดับ -ส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุนแผนพัฒนาของสภาเด็กและเยาวชนให้อยู่ในข้อบังคับ/ข้อบัญญัติงบประมาณของ อปท. -เสริมสร้างบทบาทของสภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบลเป็นผู้จัดการข้อมูลด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับตำบลเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน สนับสนุนจาก อปท.

44 ภารกิจหลัก (Core function) แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน: ภารกิจหลัก (Core function) ภารกิจหลัก (Core function) บทบาทภาครัฐ แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to) (As-Is) (To-Be) 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบัน และชุมชน 4.1 กิจกรรม : งานสวัสดิการสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก 4.2 กิจกรรม : งานครอบครัวบุญธรรม 4.3 กิจกรรม : งานครอบครัวอุปถัมภ์ 1) ครอบครัวอุปถัมภ์ระยะสั้น (Short Term Foster Care) 2) ครอบครัวอุปถัมภ์ระยะยาว (Long Term Foster Care) 4.4 กิจกรรม : งานสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน Operator/Regulator Operator Operator/ Smart Regular Regulator/Smart Regular -ปรับภารกิจของสถานรองรับ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ ปฏิบัติการในการประสานงาน การจัดหาครอบครัวทดแทน โดยการระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนในการทำงาน -ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานรองรับเด็กเอกชนมีบทบาทในการสงเคราะห์เด็กเพิ่มมากขึ้น โดย ดย. เป็นหน่วยในการกำกับดูแลมาตรฐานการดำเนินงาน -สร้างระบบในการส่งต่อเด็กจากบ้านพักเด็กและครอบครัวไปสู่สถานรองรับโดยใช้ IT ช่วยในการสนับสนุน -นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสื่อสาร ติดตามของครอบครัวผู้ขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม การจ่ายเงินค่าเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ผ่านธนาคาร (e-payment) และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล -ปรับกฎหมาย ระเบียบ เพื่อเพิ่มเงินค่าตอบแทนการเลี้ยงดูเด็ก - การจ่ายเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจนโดยใช้ฐานข้อมูลสวัสดิการแห่งรัฐ และจ่ายเงินผ่าน ระบบ e-payment และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล

45 ภารกิจหลัก (Core function) แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน: ภารกิจหลัก (Core function) ภารกิจหลัก (Core function) บทบาทภาครัฐ แนวทางการพัฒนาองค์การ (How to) (As-Is) (To-Be) 5.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน 5.1 กิจกรรม : การพัฒนาทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 5.2 กิจกรรม : การพัฒนาทักษะความเป็นพลเมือง 5.3 กิจกรรม : การพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการในการทำงานยุคไทยแลนด์ 4.0 Operator Facilitator -เสริมสร้างศักยภาพให้เด็กและเยาวชนไทยให้มีความพร้อมทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะความเป็นพลเมือง ทักษะการทำงานในยุคไทยแลนด์ 4.0 ทักษะภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 -บูรณาการเจ้าภาพรับผิดชอบงานทั้ง 3 ด้าน ให้มีความชัดเจน -ปรับบทบาทภารกิจให้กลุ่มการพัฒนาศักยภาพให้ดำเนินงานครอบคลุมภารกิจทั้ง 3 ด้าน -ส่งเสริมให้เกิด Youth Center ในระดับประเทศ -สร้างความร่วมมือกับภาคธุรกิจในการฝึกทักษะเยาวชนในการเป็นผู้ประกอบการ

46 ใบงานที่ 7 วิเคราะห์ข้อเสนอการ ปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ ของกรม (To-Be)
ในระยะ 3 ปี จาก Core Function (ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด) **ข้อมูลจัดส่งให้กระทรวง**

47 1.งานคุ้มครองเด็ก และเยาวชน
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา 1.งานคุ้มครองเด็ก และเยาวชน ปรับบทบาทบ้านพักเด็กและครอบครัวให้มีอำนาจหน้าที่และดำเนินภารกิจให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของกรม และส่งเสริมสนับสนุนให้ อปท. และเครือข่าย มีส่วนร่วมในกระบวนการช่วยเหลือ คัดกรองในพื้นที่ สร้างเครือข่ายความร่วมมือการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในแนวราบที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGO ชุมชน สภาเด็กและเยาวชน และอาสาสมัคร สนับสนุนและสร้างความร่วมมือให้ อปท. และ NGO ดำเนินการระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ พัฒนาฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับ Big Data สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนที่เข้าถึงง่าย สะดวก และรวดเร็ว พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน

48 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เอื้อต่อกระบวนการเข้าถึงสิทธิและตรวจสอบสิทธิ พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงบริการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ถ่ายโอนงานการค้นหา งานคัดกรอง งานรับลงทะเบียน การตรวจและรับรองสิทธิ์ ให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินการ รวมทั้งการจัดทำคำของบประมาณประจำปี ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการส่งเสริมโอกาสในการหารายได้หรือการฝึกอาชีพ และให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็กแก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเด็กในโครงการ ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคปรับบทบาทและภารกิจเป็นการติดตามประเมินผล การศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาและกำหนดนโยบายงานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด

49 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา 3.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน ถ่ายโอนภารกิจด้านการบริหารจัดการการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้เป็นของ อปท. เสริมสร้างบทบาทของสภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบลเป็นผู้จัดการข้อมูลด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับตำบลเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน สนับสนุนจาก อปท. ส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุนแผนพัฒนาของสภาเด็กและเยาวชนให้อยู่ในข้อบังคับ/ข้อบัญญัติงบประมาณของ อปท. ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ อปท. หรือหน่วยงานอื่นสามารถสนับสนุนงบประมาณ การดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนได้ในทุกระดับ เพิ่มบทบาทให้บ้านพักเด็กและครอบครัวมีบทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ

50 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา 4.งานจัดสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน ปรับภารกิจของสถานรองรับ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ ปฏิบัติการในการประสานงาน การจัดหาครอบครัวทดแทน โดยการระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนในการทำงาน ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานรองรับเด็กเอกชนมีบทบาทในการสงเคราะห์เด็กเพิ่มมากขึ้น โดย ดย. เป็นหน่วยในการกำกับดูแลมาตรฐานการดำเนินงาน สร้างระบบในการส่งต่อเด็กจากบ้านพักเด็กและครอบครัวไปสู่สถานรองรับโดยใช้ IT ช่วยในการสนับสนุน การจ่ายเงินค่าเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ผ่านระบบ e-payment และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล การจ่ายเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจนโดยใช้ฐานข้อมูลสวัสดิการแห่งรัฐ และจ่ายเงินผ่าน ระบบ e-payment และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล ปรับกฎหมาย ระเบียบ เพื่อเพิ่มเงินค่าตอบแทนการเลี้ยงดูเด็ก

51 ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา 5.งานส่งเสริมการพัฒนา ศักยภาพเด็กและเยาวชน เสริมสร้างศักยภาพให้เด็กและเยาวชนไทยให้มีความพร้อมทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะความเป็นพลเมือง ทักษะการทำงานในยุคไทยแลนด์ 4.0 ทักษะภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 สร้างความร่วมมือกับภาคธุรกิจในการฝึกทักษะเยาวชนในการเป็นผู้ประกอบการ บูรณาการเจ้าภาพรับผิดชอบงานทั้ง 3 ด้าน ให้มีความชัดเจน ปรับบทบาทภารกิจให้กลุ่มการพัฒนาศักยภาพให้ดำเนินงานครอบคลุมภารกิจทั้ง 3 ด้าน ส่งเสริมให้เกิด Youth Center ในระดับประเทศ

52 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 62 63 64 Q1 Q2 Q3 Q4 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชน ด้านโครงสร้าง -ปรับบทบาทบ้านพักเด็กและครอบครัวให้มีอำนาจหน้าที่และดำเนินภารกิจให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของกรม และส่งเสริมสนับสนุนให้ อปท. และเครือข่าย มีส่วนร่วมในกระบวนการช่วยเหลือ คัดกรองในพื้นที่ (21) ด้านกระบวนการทำงาน - สร้างเครือข่ายความร่วมมือการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในแนวราบที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน NGO ชุมชน สภาเด็กและเยาวชน และอาสาสมัคร สนับสนุนและสร้างความร่วมมือให้ อปท. และ NGO ดำเนินการระบบคุ้มครองเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทุก อปท. พัฒนาฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับ Big Data สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชนที่เข้าถึงง่าย สะดวก และรวดเร็ว (20%) (30%) ด้านกฎหมาย -ปรับปรุงกฎและระเบียบค่าใช้จ่ายให้ อปท. สามารถดำเนินการและสนับสนุนการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ด้านบุคลากร -พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน

53 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 62 63 64 Q1 Q2 Q3 Q4 2.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ด้านกระบวนการทำงาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เอื้อต่อกระบวนการเข้าถึงสิทธิและตรวจสอบสิทธิ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงบริการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง - ถ่ายโอนงานการค้นหา งานคัดกรอง งานรับ ลงทะเบียน การตรวจและรับรองสิทธิ์ ให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินการ - การจัดทำคำของบประมาณประจำปีสนับสนุนโครงการ (ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้อถิ่นเป็นผู้จัดทำคำขอ เหมือนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ) - บูรณาการการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน 1) มิติด้านสุขภาพและทักษะการเลี้ยงดูเด็กร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข 2) มิติด้านการฝึกอาชีพร่วมกับ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม 3) มิติด้านทะเบียนและการจ่ายเงินร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการคลัง 4) มิติด่านการติดตามและประเมินผล ร่วมกับ สศช. ยูนิเซฟ และ TDRI ด้านบุคลากร -เพิ่มอัตรากำลังและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนกลางและภูมิภาค

54 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 62 63 64 Q1 Q2 Q3 Q4 1.งานเสริมสร้างศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน ด้านโครงสร้าง ปรับบทบาทให้บ้านพักเด็กและครอบครัวมีบทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ ด้านกระบวนการทำงาน 1) ศึกษาวิจัยเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมกับการ ถ่ายโอนภารกิจด้านการบริหารจัดการการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้เป็นของ อปท. 2) ส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุนแผนพัฒนาของสภาเด็กและเยาวชนให้อยู่ในข้อบังคับ/ข้อบัญญัติงบประมาณของ อปท. 3) ส่งเสริมให้สภาเด็กและเยาวชนในระดับตำบลสำรวจ ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนในระดับตำบล ด้านกฎหมาย 4) ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ อปท. หรือหน่วยงานอื่นสามารถสนับสนุนงบประมาณ การดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนได้ในทุกระดับ

55 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 62 63 64 Q1 Q2 Q3 Q4 2.งานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ด้านโครงสร้าง -ปรับบทบาทภารกิจให้กลุ่มการพัฒนาศักยภาพให้ดำเนินงานครอบคลุมภารกิจทั้ง 3 ด้าน -ส่งเสริมให้เกิด Youth Center ในระดับประเทศ ด้านกระบวนการทำงาน -เสริมสร้างศักยภาพให้เด็กและเยาวชนไทยให้มีความพร้อมทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะความเป็นพลเมือง ทักษะการทำงานในยุคไทยแลนด์ 4.0 ทักษะภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 -สร้างความร่วมมือกับภาคธุรกิจในการฝึกทักษะเยาวชนในการเป็นผู้ประกอบการ -บูรณาการเจ้าภาพรับผิดชอบงานทั้ง 3 ด้าน ให้มีความชัดเจน

56 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 62 63 64 Q1 Q2 Q3 Q4 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน ด้านโครงสร้าง -ปรับภารกิจของสถานรองรับ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการในการประสานงาน การจัดหาครอบครัวทดแทน โดยการระดมสรรพกำลังจากทุกภาคส่วนในการทำงาน ด้านกระบวนการทำงาน -ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานรองรับเด็กเอกชนมีบทบาทในการสงเคราะห์เด็กเพิ่มมากขึ้น โดย ดย. เป็นหน่วยในการกำกับดูแลมาตรฐานการดำเนินงาน -สร้างระบบในการส่งต่อเด็กจากบ้านพักเด็กและครอบครัวไปสู่สถานรองรับโดยใช้ IT ช่วยในการสนับสนุน การจ่ายเงินค่าเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ผ่านระบบ e-payment และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล การจ่ายเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจนโดยใช้ฐานข้อมูลสวัสดิการแห่งรัฐ และจ่ายเงินผ่าน ระบบ e-payment และ ดย. เป็นผู้กำกับดูแล ด้านกฎหมาย ปรับกฎหมาย ระเบียบ เพื่อเพิ่มเงินค่าตอบแทนการเลี้ยงดูเด็ก

57 ใบงานที่ 8 วิเคราะห์ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน เชิงโครงสร้างและอัตรากำลัง
ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ที่จะรองรับภารกิจใหม่ในอนาคต (ตามแบบฟอร์ม ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด)

58 ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต ข้อเสนอ ปัจจุบัน กรมกิจการ เด็กและเยาวชน กรมกิจการ เด็กและเยาวชน อัตรากำลัง ข้าราชการ 500 พนักงานราชการ 1,459 ลูกจ้างประจำ 343 อัตรากำลัง ข้าราชการ 500 พนักงานราชการ 1,459 ลูกจ้างประจำ 343 - บริหารราชการส่วนกลาง (5/0/0) - กลุ่มตรวจสอบภายใน (4/2/0) - กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (5/3/0) - บริหารราชการส่วนกลาง (5/0/0) - กลุ่มตรวจสอบภายใน (4/2/0) - กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (5/3/0) ส่วนกลาง ส่วนกลาง สำนักงาน เลขานุการกรม (52/37/17) กองคุ้มครองเด็ก และเยาวชน (37/32/0) กองยุทธศาสตร์ และแผนงาน (42/8/0) สำนักงาน เลขานุการกรม (52/37/17) กองคุ้มครองเด็ก และเยาวชน (37/32/0) กองยุทธศาสตร์ และแผนงาน (42/8/0) กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว (47/54/5) กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว (47/54/5) ศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (28/13/3) ศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (28/13/3) ส่วนกลาง ที่ตั้งในภูมิภาค ส่วนกลาง ที่ตั้งในภูมิภาค สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สถานพัฒนาและฟื้นฟู ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพ ฯ และสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม รวม 30 แห่ง (261/414/318) บ้านพักเด็กและครอบครัว 77 แห่ง (19/896/0) สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สถานพัฒนาและฟื้นฟู ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพ ฯ และสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม รวม 30 แห่ง (261/414/318) บ้านพักเด็กและครอบครัว 77 แห่ง (19/896/0)

59 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต 1.งานคุ้มครองเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่น ข้อเสนอ ปัจจุบัน อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ บ้านพักเด็กและครอบครัว ดย.จังหวัด ฝ่ายบริหาร ฝ่ายสวัสดิการ ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนโยบายและวิชาการ ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา ฝ่ายคุ้มครอง นักจัดการงานทั่วไป การเงิน พัสดุ นักวิเคราะห์นโยบาย นักพัฒนาสังคม นักพัฒนาสังคม กฎหมาย สังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา ฝ่ายสวัสดิการ สังคมสงเคราะห์ นักพัฒนาสังคม คงเดิม ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ เปลี่ยนชื่อ จัดตั้งใหม่ ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ และเปลี่ยนชื่อ

60 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต 4.งานสวัสดิการเด็กในสถาบันและชุมชน ข้อเสนอ ปัจจุบัน อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ดย. ดย. ส่วนกลาง กสส. ศบธ. ส่วนภูมิภาค สถานรองรับ บพด. พมจ. CSR NGOs ส่วนภูมิภาค คงเดิม ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ เปลี่ยนชื่อ จัดตั้งใหม่ ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ และเปลี่ยนชื่อ

61 5.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต 5.งานเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ข้อเสนอ ปัจจุบัน อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ อัตรากำลัง ข้าราชการ xxxx พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ กรม กรม ส่วนกลาง งานเด็กแรกเกิด (8 คน) ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค งานเด็กแรกเกิด (จังหวัดละ คน 1 คน รวม76 คน) คงเดิม ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ เปลี่ยนชื่อ จัดตั้งใหม่ ปรับปรุงหน้าที่และอำนาจ และเปลี่ยนชื่อ

62 อธิบาย Non-Core Function

63 ภารกิจ (Non-Core Fnction)
ประเภท* NC (TS) (AS) 1.งานเทคโนโลยีสารสนเทศ (กยผ.) 2.งานวิจัยและนวัตกรรม/การจัดการความรู้ (กยผ.) 3.งานแผนงาน (กยผ.) 4.งานติดตามประเมินผล (กยผ.) 5.งานกฎหมาย (สลก.) 6.งานวิเทศสัมพันธ์ (กยผ. และ กสส.) 7.งานการเงินการคลัง (สลก.) 8.งานปรับปรุงคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (กยผ. กคค. ศบธ. และ กสส. โดย กพร. เชื่อมเป็นเจ้าภาพ) 9.งานบุคลากร (สลก.) 10.งานสื่อสารขององค์กร (ภายในและภายนอก) (กยผ.) 11.งานงบประมาณ (กยผ.) 12.งานธุรการและสารบรรณ (สลก.) 13.งานพัสดุ (สลก.)

64 การปรับเปลี่ยน (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน : ภารกิจรอง (Non- Core function) ภารกิจรอง (Non-core function) เป้าหมาย การปรับเปลี่ยน ข้อเสนอ การปรับเปลี่ยน (How to) Technical Support 1. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ -ปรับทุกกระบวนงานโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยสนับสนุนการดำเนินงาน -เพิ่มความสะดวกในการติดต่อสื่อสารขององค์การทั้งภายในและภายนอกองค์การ -นำเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุนการดำเนินงานในทุกกระบวนงาน -พัฒนาฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้มีความเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลประชาชนกลาง (Population Information Linkage Center) 2. งานวิจัยและนวัตกรรม/การจัดการความรู้ มีงานวิชาการหรืองานวิจัยที่ทันสมัยและทันต่อสถานการณ์ทางสังคม และสามารถนำมาเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเชิงการบริหารและเชิงนยบายได้ - ขับคลื่อนแผนงาน R&D อย่างเป๋นระบบ -พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการส้รางผลงานเชิงวิขาการและงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง (strength from within) เช่น ให้บุคลากรตำแหน่งชำนาญการพิเศษทำผลงานวิชาการหรืองานวิจัย 1 เรื่อง ต่อปี และตำแหน่งชำนาญการ รวม 3 คน จัดทำงาวิชาการหรืองานวิจัย 1 เรื่อง ต่อปี -outsource การจัดทำงานเชิงวิชาการหรืองานวิจัยที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเท่าที่จำเป็น

65 การปรับเปลี่ยน (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวชน : ภารกิจรอง (Non- Core function) ภารกิจรอง (Non-core function) เป้าหมาย การปรับเปลี่ยน ข้อเสนอ การปรับเปลี่ยน (How to) Technical Support 3. งานแผนงาน แผนงานมีความคล่องตัว ยืดหยุ่น พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเครื่องมือในการวางแผนให้เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ไทยแลนด์ 4.0 และคนไทย 4.0 โดยนำเครื่องมือ PMQA 4.0 มาใช้ รวมทั้งมีการบริหารความเสี่ยง ควบคุมภายใน ติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 4. งานติดตามประเมินผล 5. งานกฎหมาย มีกฎหมายด้านเด็กและเยาวชนที่มีความทันสมัย ทันต่อสถานการณ์ มีการประเมิน ทบทวนผลของการใช้กฎหมายเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านเด็กและเยาวชนให้ทันสมัยอยู่เสมอ 6. งานวิเทศสัมพันธ์

66 การปรับเปลี่ยน (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวขน : ภารกิจรอง (Non- Core function) ภารกิจรอง (Non-core function) เป้าหมาย การปรับเปลี่ยน ข้อเสนอ การปรับเปลี่ยน (How to) Administrative Support 1. งานการเงินการคลัง เพิ่มความยืดหยุ่น คล่องตัว รวดเร็ว ลดขั้นตอนการดำเนินงานที่ไม่จำเป็น เพื่อให้สามารถบริหารงบประมาณได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 2. งานปรับปรุงคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ลดจำนวนคณะอนุกรรมการที่ซ้ำซ้อน ยุบรวบ/บูรณาการคณะอนุกรรมการให้เหลือเท่าที่จำเป็น 3. งานบุคลากร บุคลากรมีสมรรถนะหลักตรงตามภารกิจหลักของกรมที่เพียงพอ -บริหารและพัฒนาบุคลากรตามแผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล พ.ศ – 2564 ของกรมอย่างเป็นระบบ -Outsource บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง 4. งานสื่อสารขององค์กร (ภายในและภายนอก) ลดค่าใช้จ่าย และระยะเวลาของหัวหน้าหน่วยงานในภูมิภาค รวมทั้งเครือข่ายที่ต้องเดินทางมารับฟังการชี้แจงในส่วนกลาง -ใช้ระบบ VDO Conference -จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานในแต่ละภารกิจงานให้มีความชัดเจน -จัดทำระบบ E-Learning

67 การปรับเปลี่ยน (How to)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับบทบาทภารกิจของกรมกิจการเด็กและเยาวขน : ภารกิจรอง (Non- Core function) ภารกิจรอง (Non-core function) เป้าหมาย การปรับเปลี่ยน ข้อเสนอ การปรับเปลี่ยน (How to) Administrative Support 5. งานงบประมาณ ลดขั้นตอนการจัดทำงบประมาณประจำปี ใช้ระบบการจัดทำงบประมาณอีเล็กทรอนิกส์ เน้นระบบงบประมาณแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 6. งานธุรการและสารบรรณ ลดขั้นตอน ปรับระบบบริหารงานสารบรรณ และลดการใช้กระดาษ พัฒนางานสารบรรณเป็นงานสารบรรณอีเล็กทรอนิกส์ให้ครอบคลุมทุกกระบวนงาน 7. งานพัสดุ มีระบบพัสดุอีเล็กทรอนิกส์ ใช้ระบบบาร์โค้ดควบคุมการบริหารงานพัสดุ และสินค้าคงคลัง


ดาวน์โหลด ppt ประชุมจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google