งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
ด้วยเทคโนโลยีเครื่องเสมือนโดยใช้ซอฟต์แวร์ Proxmox ร่วมกับ Ceph Storage บนพื้นฐานของระบบเครือข่ายแบบ Link Aggregation นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา

2 หัวข้อนำเสนอ ที่มาและปัญหา วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน
1 ที่มาและปัญหา 2 วัตถุประสงค์ 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน 4 สรุปและอภิปรายผลการดำเนินงาน

3 ที่มาและปัญหา 01 02 03 04 ปรับปรุงระบบเครือข่าย
สำนักหอสมุดปรับปรุงระบบเครือข่ายใหม่ สามารถใช้งานฟังก์ชัน Link Aggregation ได้ ปรับปรุงระบบเครือข่าย มีเครื่องแม่ข่ายเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศเพิ่จำนวนมากขึ้น ทำให้ยากต่อการดูแลและบำรุงรักษา เครื่องแม่ข่ายเพิ่มมากขึ้น 01 02 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเสียหายมากกว่า 1 ชุด ทำให้ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลกลับมาได้ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเสียหาย เนื่องจากไฟฟ้าภายในมหาวิทยาลัยดับบ่อยครั้ง ทำให้เครื่องแม่ข่ายหยุดทำงาน ระบบไฟฟ้าไม่เสถียร 03 04

4 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเครื่องแม่ข่ายโดยใช้เทคโนโลยีเครื่องเสมือนที่มีประสิทธิภาพ . เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือข่ายสำหรับเครื่องแม่ข่ายโดยใช้เทคโนโลยีการรวมลิงค์ ตอบปัญหาข้อที่ 2 , 3 และ 4 ตอบปัญหาข้อที่ 1 และ 4 ตอบปัญหาข้อที่ 1 - 4 เพื่อเป็นต้นแบบของการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานการของเครื่องแม่ข่ายของสำนักหอสมุด

5 การศึกษาและเปรียบเทียบ ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย
ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 การศึกษาและเปรียบเทียบการทำงานของทั้ง 3 ซอฟต์แวร์ การศึกษาและเปรียบเทียบ 1. ออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่าย 2. ออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานระบบเครือข่าย การออกแบบระบบ 1. ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับคลัสเตอร์หลัก 2. ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับคลัสเตอร์สำรอง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย 1. ติดตั้งซอฟต์แวร์ Proxmox 2. ติดตั้งซอฟต์แวร์ Ceph ติดตั้งซอฟต์แวร์ 1. ทดสอบประสิทธิภาพของ Link Aggregation 2. ทดสอบการทำงานของซอฟต์แวร์ Ceph ทดสอบประสิทธิภาพ

6 ศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของซอฟต์แวร์
เปรียบเทียบคุณลักษณะซอฟต์แวร์ คุณลักษณะการรองรับทาง Har dware Windows Server R2 Hy per-V VMWare ESXi Proxmox จำนวน Logical Processors 320 576 768 จำนวนของ Physical Memory 4TB 12TB จำนวน CPU เสมือนต่อเครื่อง เสมือน 64 8 160 จำนวนหน่วยความจำต่อเครื่อง เสมือน 1 TB 6128 GB 2 TB การสร้างระบบคลัสเตอร์ รองรับ ไม่รองรับ ความสามารถในการทำ Live Mi gration ความสามารถในการสำรองและ กู้คืนเครื่องเสมือน เมื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ทั้ง 3 แล้วพบว่า Windows Server มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับซอฟต์แวร์ Proxmox ผู้พัฒนาจึงได้ทดลองติดตั้งและทดสอบการใช้งานของทั้ง 3 ซอฟต์แวร์ เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกซอฟต์แวร์

7 การออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐาน
ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 3 เครื่องและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 9 ชุด ส่วนที่ 1 คลัสเตอร์หลัก เครื่องแม่ข่ายสำหรับสำรองข้อมูลของทั้งคลัสเตอร์หลักและคลัสเตอร์สำรอง ส่วนที่ 3 NFS Server ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 6 ชุด ส่วนที่ 2 คลัสเตอร์สำรอง ระบบเครือข่ายแบบ Link Aggregate ที่เชื่อมต่อกับเครื่องแม่ข่าย ส่วนที่ 4 ระบบเครือข่าย

8 ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย
Link Aggregate สำหรับ VM Link Aggregate สำหรับ Ceph ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย Switch ให้ทำงานเป็นแบบ Link Aggregation เพื่อเพิ่มขนาดช่องทางการรับส่ง-ข้อมูลและเพิ่มความเสถียรให้กับระบบเครือข่ายส่วนกลางของเครื่องแม่ข่าย

9 ติดตั้งซอฟต์แวร์ Proxmox
Primary Cluster Secondary Cluster ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่ายคลัสเตอร์หลักจำนวน 3 เครื่อง ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่ายคลัสเตอร์สำรองจำนวน 2 เครื่อง

10 ติดตั้งซอฟต์แวร์ Ceph
Ceph สำหรับ Primary Cluster Ceph สำหรับ Secondary Cluster อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลบนคลัสเตอร์หลัก 9 ชุด อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลบนคลัสเตอร์หลัก 6 ชุด

11 ทดสอบการประสิทธิภาพการทำงาน
สร้าง VM 2 เครื่อง ใช้โปรแกรม iperf3 ส่งข้อมูลจาก VM ทั้ง 2 VM พร้อมๆ กัน ปริมาณการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทดสอบประสิทธิภาพ Link Aggregation ถอดอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลออกชุดละ 1 ตัว ทีละชุด ระบบรองรับความเสียหายได้ 3 ชุด จาก 9 ชุด ทดสอบประสิทธิภาพของ Ceph

12 สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ Windows Server 2012 R2 Hyper-V
ใช้ผู้ดูแลระบบ 4 ท่าน จากหน่วยงานอื่น สร้าง User ให้เข้าใช้ระบบ และประเมินเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแต่ละซอฟต์แวร์ VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกในการบริหารจัดการเครื่องเสมือนและการติดตั้งค่าการใช้งาน 5 ความเร็วในการย้ายเครื่องเสมือนในขณะที่เครื่องเปิดใช้งาน N/A ความเร็วในการย้ายเครื่องเสมือนในขณะที่เครื่องปิดการใช้งาน ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลวของเครื่องแม่ข่าย กรณีเครื่องแม่ข่ายไม่สามารถให้บริการได้จำนวน 1 เครื่องจาก 3 เครื่อง

13 สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ (ต่อ) Windows Server 2012 R2 Hyper-V
ใช้ผู้ดูแลระบบ 4 ท่าน จากหน่วยงานอื่น สร้าง User ให้เข้าใช้ระบบ และประเมินเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแต่ละซอฟต์แวร์ VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกและรวดเร็วในการสำรองและการกู้คืนเครื่องเสมือน 5 ความรวดเร็วในการอ่านและเขียนข้อมูล เมื่อทำงานร่วมกับ Link Aggregation 4 ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อซอฟต์แวร์ Free Licenses

14 สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยผู้พัฒนา
ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพบางประเด็นสำหรับผู้พัฒนา โดยพิจารณาจากการติดตั้งซอฟต์แวร์และติดตั้งค่าการใช้งาน VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกในการติดตั้งให้ทำงานเป็นแบบคลัสเตอร์ N/A 4 5 ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลว ของเครื่องแม่ข่าย กรณีเครื่องแม่ข่าย ไม่สามารถให้บริการได้จำนวน 1 เครื่องจาก 3 เครื่อง ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลวของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 3 ชุดจำอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 9 ชุด

15 สรุปและอภิปราย A B D C ซอฟต์แวร์ VMWare ESXi ซอฟต์แวร์ Proxmox
รุ่นทดสอบเป็นรุ่นฟรี ไม่สามารถทำคลัสเตอร์ได้ ไม่สามารถทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน เหมาะกับหน่วยงานที่มีเครื่องแม่ข่าย 1-2 เครื่อง ซอฟต์แวร์ VMWare ESXi เป็น Open Source Software ทำคลัสเตอร์ได้ ทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน ซอฟต์แวร์ Proxmox A B D ต้องซื้อลิขสิทธิ์ของ Windows Server ทำคลัสเตอร์ได้แต่ยุ่งยาก ทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน มีข้อจำกัดในการสร้าง VM เกินกว่าทรัพยากร เหมาะสมกับหน่วยงานที่ใช้งาน Windows Server ลิขสิทธิ์แล้ว ซอฟต์แวร์ Windows 2012 R2 Hyper-V C เนื่องจากระบบ Ceph จัดเก็บข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย ดังนั้นถ้าหน่วยงานใดมีระบบเครือข่ายแบบ 10Gbps จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของ Ceph ดีขึ้น การใช้งานร่วมกับ 10Gbps

16 Thank you Q & A


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google