งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สังคมยุคกลาง (Middle Age)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สังคมยุคกลาง (Middle Age)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สังคมยุคกลาง (Middle Age)
Soc (ชุดที่ 2) สังคมยุคกลาง (Middle Age) St. Thomas Aquinas (เซนต์ ทอมัส อโควนาส) ได้รับแนวคิดจากอริสโตเติล เป็นนักบวชรุ่นหลัง เซนต์ ออกุสติน มีแนวคิด ดังนี้

2 เหตุผล กับศรัทธา ต้องอยู่ด้วยกัน รัฐบาลชี้นำด้วยศีลธรรม / กำกับด้วยกฎหมาย
มนุษย์ในสังคม / สังคมให้ความยุติธรรม สังคมที่ยุติธรรม จะให้หลักประกันแก่พลเมือง สิทธิที่จะบังคับให้เกิดความดีร่วมกัน มาจากมวลชนหรือ ตัวแทนมวลชน ตัวแทนที่ดีของมวลชน คือ K.

3 Thomas Hobbes (ทอมัส ฮอบส์)
ได้รับแนวคิดจาก ทอมัส อโควนาส แนวคิด สังคม ต้องมีผู้ปกครอง ธรรมชาติของมนุษย์ คือความแก่งแย่งชิงดีกัน ต่อสู้กัน รัฐบาล แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ระบอบกษัตริย์ Monarehy) ตัวแทน P. = เกิดความดีร่วมกัน + มีหน้าที่ควบคุมสังคม ฮอบส์ นิยมระบอบ K. สุดโต่ง (ระบอบประชาธิปไตย เป็นระบอบที่ชั่วร้าย) บทบาท K. ช่วยสังคมไม่ได้ สังคมจะกลายเป็น อนาธิปไตย (anarchy)

4 Jean Jacques Rousseau (ฌอง ฌ้าค รุสโซ)
มนุษย์ เป็นพลเมืองของสังคม มนุษย์เป็นคนดีโดยธรรมชาติ แต่เป็นพลเมืองอยู่ในสังคม ภาวะความยินยอมพร้อมใจ จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า สัญญาประชาคม (Social Contract) คือ ประชาชนจะให้อะไรกับสังคม / สังคมให้อะไรกับประชาชน ( หน้าที่ ) ( สิทธิ )

5 ยุคทองของมนุษย์ คือ ยุคบุพกาล (Primitire Society)
รัฐบาล คือ ผู้ที่ประชาชนมอบอำนาจชอบธรรมให้ปกครอง ประชาชนถอนอำนาจนี้ได้ หากรัฐบาลไม่ทำตามสัญญา ยุคทองของมนุษย์ คือ ยุคบุพกาล (Primitire Society) คือ ยุคที่มนุษย์ ใกล้ชิด และเรียนรู้ธรรมชาติมาก รุสโซ - ต่อต้านความไม่เป็นธรรมในสังคม ความไม่เป็นธรรม  เกิดจากทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่นที่ดิน ประชาคม (Civil Society)  การที่บุคคลอื่นมาร่วมรับรู้ในกรรมสิทธิ์  กลุ่มคนที่ได้รับการบอกล่าว ยอมเชื่อผู้อ้างกรรมสิทธิ์

6 ถาม ? ประชาคมท้องถิ่น หมายถึง ประชาคมโลก หมายถึง

7 Georg Wilhelm Friedrich Hegel (เฮเกล)
ศึกษาจิต และความคิด เชื่อ จิตใจและธรรมชาติ เป็นสิ่งเดียวกัน ไม่อาจแยกได้ / ไม่เป็นอิสระจากกัน โลก ควรเปิดตัว / แสดงออกของความคิดรวบยอด โลก คือ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยตัวของตัวเอง การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง  สังคมเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมนุษย์ใช้สมอง  สมองเป็นตัวกำหนดความคิด (มนุษย์คิด สังคม จึงเปลี่ยน)

8 รัฐ คือ ความจริง หรือรูปแบบของความคิด เชิงศีลธรรม การรับรู้จิตวิญญาณสูงสุดโดยใช้เหตุผล คือ จิตของมนุษย์ / ไม่ใช่ใช้ศรัทธา สมาชิกในรัฐ ถือเป็นอิสรภาพ / เป็นเกียรติของมนุษย์ รัฐทุกรัฐต้องมีอิสรภาพของตนเอง พลเมืองมีหน้าที่ธำรงรักษาความเป็นอิสระ และอธิปไตย

9 สังคมมีการเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมนุษย์มีความคิด
สมาชิกในสังคมทำให้สังคมเปลี่ยน

10 Auguste Comte (ออกุสต์ ก้องต์)
บิดาแห่งสังคมวิทยา (เป็นนักวิทยาศาสตร์ F.) เห็นว่ามีความจำเป็น ในการมีระเบียบในชุมชน  ชุมชนควรเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unifying Communal Order) ทฤษฎีควรมาก่อนการปฏิบัติ  แนวคิด แบบวิทยาศาสตร์ เป็นที่มาของความคิด แบบปฏิฐานนิยม (Positivism) แนวคิดแบบสังคมนิยม มีอิทธิพลต่อ มาร์กซ์

11 โลกกายภาพ จัดด้วยหลักทางวิทยาศาสตร์
เพียรพยายาม ทำให้สังคมศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ สร้างวิชาฟิสิกส์สังคม (Social Physics) บัญญัติ คำว่า สังคมวิทยา ในวงวิชาการ (Sociology) ไม่ชอบสิทธิสังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต์ (เขาเชื่อในระบบคุณค่า และทรัพย์สินส่วนบุคคล  ทำให้เกิดปัจจัยการผลิต อารยธรรมของสังคมต่างๆ เกิดขึ้นได้ถ้ามีความพร้อมเชิงวัตถุ หรือความร่ำรวย (สิ่งที่ครอบครอง มิได้จะทำอะไรตามใจได้ ผู้ครอบครองจะต้องรู้หน้าที่ต่อสังคม โดยรวม ความคิดนี้อยู่ระหว่าง เสรีนิยม กับสังคมนิยม

12 สิทธิ คือ หมายถึง หน้าที่ หมายถึง

13 ความมุ่งมั่นของก้องต์
สังคม ควรได้รับการปฏิรูป ปรัชญา ทำหน้าที่สังเคราะห์องค์ความรู้ จากวิทยาศาสตร์/ศาสตร์อื่นๆ ศาสนาของมนุษยชาติ (Religion of Humanity)

14 ปฏิรูปสังคม คนรุ่นใหม่ ควรคิดแบบปฏิฐานนิยม คือ หลุดพ้นจากวิธีคิดแบบศาสนา ไม่นิยมความรุนแรง ค่อยเป็นค่อยไป (ไม่ถอนราก ถอนโคน) / ไม่เสียเลือกเนื้อ / ไม่ปฏิวัติ

15 การสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์
เป็นต้นกำเนิดของกฎระเบียบต่างๆ นำไปสู่กฎหมาย Law อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ สามารถนำมาอธิบายให้มนุษย์เข้าใจ ค้นพบ โครงสร้างทางสังคม ทำให้เข้าใจตัวตน เข้าใจมนุษย์ กฎเกณฑ์ ความรู้จากการศึกษา ค้นพบกฎที่อธิบายแก่สังคม

16 สังคมวิทยา สังคมวิทยา หมายถึง ศาสตร์แห่งความสามารถที่จะเข้าใจ (Entendment) สังคม มนุษย์ไม่อาจเข้าใจสังคมได้ด้วยการพิจารณาตัวเอง หรือการวิเคราะห์ แต่มนุษย์ต้องใช้วิธีสังเกต ดูกิจกรรมต่างๆ ที่มนุษย์กระทำ หรือ ผลงานทั้งหลายที่เกิดขึ้น ในอดีต ในสังคม

17 ถาม สังคม คืออะไร? ระบบสังคมเป็นอย่างไร? พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร?
สังคม คืออะไร? ระบบสังคมเป็นอย่างไร? พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร? ระเบียบวิธีแสวงหาความรู้ แนวปฏิฐานนิยม เป็นอย่างไร ?

18 สังคม คืออะไร? ระบบสังคมเป็นอย่างไร? พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร? ระเบียบวิธีแสวงหาความรู้ แนวปฏิฐานนิยม เป็นอย่างไร ?


ดาวน์โหลด ppt สังคมยุคกลาง (Middle Age)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google