ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยGlenna Sutedja ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สุขภาพจิตและยาเสพติด
2
ทำไมต้องคัดกรองบุหรี่
นำไปสู่ การบำบัด การ DX COPD การคัดกรอง CVD Risk ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
3
ใครทำ - OPD มีมากมาย ?????? ใครบันทึก ?????
ในคลินิก ---ผู้รับผิดชอบงาน
4
เป้าหมายการคัดกรองบุหรี่
- ประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไป - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหืด โรคถุงลมโป่งพอง) ทุกราย
5
การบันทึกการการคัดกรองบุหรี่
บันทึกโดยใช้ ICD 10 Z 72.0 ยังไม่ได้ประเมิน Nicotine Score Z 72.0 ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลค่อนข้างต่ำ F 17.2 – F ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลปานกลางถึงสูง
6
การคัดกรองบุหรี่ใน PP spacial
รหัส คำอธิบาย 1B501 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 1-10 มวนต่อวัน 1B502 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ มวนต่อวัน 1B503 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 20 มวนขึ้นไปต่อวัน 1B504 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน น้อยกว่า 30 นาที 1B505 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน มากกว่า 30 นาที แต่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 1B506 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน 1 ชั่วโมง หรือมากกว่า 1B509 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ ไม่ระบุรายละเอียด 1B51 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมเคยสูบบุหรี่แต่เลิกแล้ว 1B52 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมไม่เคยสูบบุหรี่
7
การบันทึกการบำบัดบุหรี่ในคลินิกอดบุหรี่
โดยใช้รหัส icd 10 การบำบัดต่อเนื่อง = Z508+Z 716+Z720 = Z508 + Z716+ F17.2 –F17.26
8
การบันทึกการบำบัดใน PP Spacial
1B530 การให้คำแนะนำผู้ติดบุหรี่แบบสั้น (Brief Advice) 1B531 การให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ (Counseling Advice) 1B532 การให้คำปรึกษาและให้ยาเพื่อเลิกบุหรี่ (Counseling Advice + Medicine)
9
การติดตามผู้สูบบุหรี่
1B540 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลยังสูบอยู่ปริมาณ/จำนวนมวน เท่าเดิม 1B541 ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B542 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ผลไม่สูบแล้ว
10
การติดตามผู้สูบบุหรี่
1B550 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B551 ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B552 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลไม่สูบแล้ว
11
การติดตามผู้สูบบุหรี่
1B560 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B561 ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B562 ผลไม่สูบแล้ว
12
ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การวินิจฉัย COPD
พบผู้สูบบุหรี่ เป่า Peak Flow :8937 ค่า Peak Flow น้อยกว่า 62 ส่งตรวจ Spiro:8938
13
ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การประเมิน CVD Risk
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สูบบุหรี่ (ต้องมีรหัสสูบบุหรี่) ใช้เป็นสูตรการคำนวณ การประเมิน CVD Risk
14
สุรา เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ................. ปี)
เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ปี) Z71.4 การให้คำปรึกษาและเฝ้าระวังผู้ติดสุราไม่รวม: หัตถการฟื้นฟูสภาพผู้ติดสุรา (Z50.2) Z72.1 การใช้แอลกอฮอล์ ไม่รวม: การติดแอลกอฮอล์ (F10.2)
15
สุรากับ มะเร็งตับ เป็นผู้ป่วยกลุ่มพิษสุราเรื้อรัง หรือ ตับแข็งใช้รหัส - F10.0 (เมาสุรา), F10.2 : พิษสุราเรื้อรัง หรือ - K70.3 : ตับแข็งจากแอลกอฮอล์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.