ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Service plan สาขาทารกแรกเกิดจังหวัดเพชรบูรณ์
2
ดูแลทารกแรกเกิดให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
วิสัยทัศน์ ให้บริการทารกแรกเกิดได้มาตรฐาน ครอบคลุมครบวงจรในจังหวัดเพชรบูรณ์ ภายใน 5 ปี เป้าประสงค์ ดูแลทารกแรกเกิดให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
3
เป้าหมาย การดูแลทารกแรกเกิด
พัฒนาคุณภาพการดูแลทางการแพทย์และความปลอดภัยของทารกทุกคน ค้นหาทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง วินิจฉัยและรักษาภาวะแทรกซ้อนอย่างเหมาะสมและทันท่วงที ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก ทารกรอด ไม่พิการ และสมองดี
4
ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนด พัฒนาระบบการดูแลมารดากลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับสถานบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบการส่งต่อเพื่อการจัดการและบริการที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างภาคีเครือข่าย
5
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กลุ่มบริการที่อาศัยความเชี่ยวชาญด้านทารกแรกเกิด
นายแพทย์ประสงค์ วิทยถาวรวงศ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านกุมารเวชกรรม) ประธานกรรมการ ดร.วิระวรรณ ถิ่นยืนยง รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านส่งเสริมพัฒนา รองประธานกรรมการ กุมารแพทย์ จาก 4 โรงพยาบาล กรรมการ พยาบาลแผนก NICU กรรมการ หัวหน้าห้องคลอดโรงพยาบาลทุกแห่ง กรรมการ รวม จำนวน 30 คน
6
สถานการณ์ ปี 2558 ปี 2557 ปี 2558 จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 3,875
ปี 2557 (ต.ค.56-มี.ค.57) ปี 2558 (ต.ค.57-มี.ค.58) จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 3,875 3,756 จำนวนทารกแรกเกิดที่เสียชีวิตก่อนอายุ 28 วันทั้งหมด 13 8 อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่า 28 วัน (Neonatal Mortality Rate : NMR) 3.35 2.13 อัตราการลดลงของ NMR ในปี 2558 เทียบกับ 2557 36.42 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
7
สถานการณ์ ปี (ต.ค.57-มี.ค.58) ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวน (N) ผลงาน (n) อัตรา/ ร้อยละ 1.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (LBW) ร้อยละ 7 3,756 360 9.58 2.อัตราการได้รับ antenatal steroid ก่อนการคลอด ในหญิงตั้งครรภ์ GA สัปดาห์อย่างน้อย 2 doses ร้อยละ 100 119 71 59.66 3.อัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก (very low birth weight: VLBW) ร้อยละ 10 21 1 4 4.อัตราการตรวจคัดกรอง ใน VLBW hearing (OAE) 55 100 5.อัตราการตรวจคัดกรองในทารกปกติ (OAE) >ร้อยละ 60 2,390 1,482 62.01
8
สถานการณ์ ปี (ต.ค.57-มี.ค.58) ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวน (N) ผลงาน (n) อัตรา/ ร้อยละ 6.อัตราการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด (Birth asphyxia) น้อยกว่า 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ 25 ต่อพัน 3,756 97 25.83 7.อัตราการเสียชีวิต และพิการรุนแรงใน moderate to severe asphyxia น้อยกว่า 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ 30 ต่อพัน 12 3.19 8.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะส่งต่อ <ร้อยละ 25 3 25 9.ความครอบคลุมของ neonatal transport service ร้อยละ 80 16 10 62.5 10.ความเพียงพอของจำนวนพยาบาลเฉพาะทางทารกแรกเกิด ที่ผ่านการอบรมระยะสั้น 4 เดือน (เป้าหมายพยาบาลปฏิบัติงานในNICU) ร้อยละ 70 21 9 42.86
9
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม เกณฑ์:ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
10
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม (ต.ค.57-มี.ค.58)
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม (ต.ค.57-มี.ค.58) เกณฑ์:ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
11
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด เกณฑ์:ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
12
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด (ต.ค.57-มี.ค.58)
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด (ต.ค.57-มี.ค.58) เกณฑ์:ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
13
สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
14
สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ (ต. ค. 57-มี
สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ (ต.ค.57-มี.ค.58) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
15
การดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน การดูแลทางโภชนาการ การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
16
แผนงาน/โครงการ ปี 2558 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรการให้บริการทารกแรกเกิดอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน 1.1 อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพทารกในภาวะวิกฤต(resuscitation) 1.2 แผนอบรมพัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพ 1.3 อบรมการป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนในทารกแรกเกิดก่อนกำหนด 1.4 อบรมเรื่อง เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า การวินิจฉัยและการดูแลช่วยเหลือ
17
แผนงาน/โครงการ ปี 2558 แรกเกิด
แผนงาน/โครงการ ปี 2558 2.พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดในสถานบริการลูกข่ายโดยเฉพาะก่อนและระหว่างส่งต่อ 2.1 การประชุมพัฒนาเครือข่ายการรับ-ส่งต่อทารกแรกเกิด จัดระบบการประสานงานก่อนและขณะส่งต่อ 2.2 การจัดทำ CPG.ในการดูแล ให้ครอบคลุมทั้งการดูแลมารดา ทารกปกติ ทารกป่วย ระดับอำเภอ จังหวัด 3. มีแผนความต้องการครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ให้เพียงพอด้านบริการทารก แรกเกิด 4.โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ เปิด SICK NEWBORN จำนวน 10 เตียงให้บริการทารกป่วย 0-1 เดือนในเครือข่าย
18
ปัญหาอุปสรรค ปัญหาการส่งต่อ ผู้ป่วยกลับไปดูแลต่อเมื่อพ้นวิกฤตในเครือข่ายยังมีความพร้อมน้อย เครื่องมือและอุปกรณ์ มีไม่เพียงพอในการให้บริการ ทารกแรกเกิดมีภาวะความเสี่ยงสูง เช่น น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (LBW) คลอดก่อนกำหนด และภาวะ BA บุคลากร กุมารแพทย์ พยาบาลที่ให้บริการทารกแรกเกิดมีจำกัด
19
ข้อเสนอแนะ 3.การสร้างสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยที่เอื้อการดูแลคุณภาพ
1. การพัฒนาศักยภาพของพยาบาลเฉพาะทาง 2.ขอสนับสนุนเครื่องมือ/อุปกรณ์ที่จำเป็นตามแผน เพื่อให้บริการได้ตามมาตรฐาน ทำให้ระบบ Referral system มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3.การสร้างสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยที่เอื้อการดูแลคุณภาพ
20
แผนความต้องการ ด้านอัตรากำลัง/บุคลากร
ด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ด้านงบประมาณ
21
แผนความต้องการด้านบุคลากร
ประเภทบุคลากร สถานที่ กรอบต้องการ ปัจจุบัน ปี58 ปี59 ปี60 กุมารแพทย์ทารกแรกเกิด รพ.เพชรบูรณ์ 1 รพ.หล่มสัก รพ.วิเชียรบุรี รพร.หล่มเก่า กุมารแพทย์ 8 3 2 สูติแพทย์ 4 พยาบาลเฉพาะทางทารกแรกเกิด/ (ปริญญาโท) 10 5/2 7 5 พยาบาลวิชาชีพ 20 6 9
22
แผนความต้องการด้านอุปกรณ์ ปี 2558
ลำดับ ความต้องการ รายการครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย(บาท) หมายเหตุความจำเป็น 1 ตู้อบเด็กสำหรับลำเลียงทารกแรกคลอด (Transport Incubator) เครื่อง 500,000 อันดับ1 โรงพยาบาลชนแดน 1 เครื่อง อันดับ2 โรงพยาบาลหนองไผ่ 1 เครื่อง 2. OAE 350,000 อันดับ1 โรงพยาบาลวิเชียรบุรี 1 เครื่อง อันดับ2 รพร.หล่มเก่า 1 เครื่อง 3 Ventilator 900,000 4 Monitor NIBP(เด็ก) 200,000 อันดับ1 โรงพยาบาลหล่มสัก 1 เครื่อง
24
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
1. ชื่อเรื่อง
25
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เมื่อลูกน้อยเกิดมา อาหารที่สำคัญที่สุดก็คือ “น้ำนมจากมารดา” ซึ่งอุดมไปด้วยสารอาหารครบถ้วน ทารกที่ได้รับน้ำนมจากมารดาจะมีร่างกายแข็งแรงและยังมีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ และในการที่จะดูดนมมารดาได้เป็นอย่างดีนั้นจะต้องอาศัย “ลิ้น” ช่วยในการดูดด้วย แต่ปัญหามีอยู่ว่ายังมีทารกจำนวนหนึ่งที่มีพังผืดใต้ลิ้นผิดปกติจนเกิดอุปสรรคในการดูดนม เนื่องจากลิ้นเป็นอวัยวะสำคัญอย่างหนึ่งในการพูด โดยเฉพาะปลายลิ้นที่ต้องช่วยในขณะออกเสียงควบกล้ำ ดังนั้นในเด็กโตที่มีพังผืดยึดมาถึงบริเวณปลายลิ้นอาจพูดไม่ได้ พูดช้าและมีปมด้อยได้ นอกจากนี้ปลายลิ้นยังมีส่วนช่วยในการทำความสะอาดซอกฟัน จึงมีรายงานจากทางทันตแพทย์ว่า ภาวะลิ้นติดมากๆ อาจส่งผลถึงสุขภาพปากและฟันได้ด้วย
26
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
3. วัตถุประสงค์
27
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
4. วิธีดำเนินการ
28
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
5. ผลการดำเนินการ
29
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
6. อภิปรายผล
30
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice)
7. ความภาคภูมิใจ
31
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.