งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงบูรณาการ โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข วันที่ 15 ธันวาคม 2559 โรงแรมเวียงอินทร์ ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท จังหวัดเชียงราย

2

3

4 สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)
องค์ประกอบของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.) ผู้ทรงคุณวุฒิภาครัฐและเอกชนไม่เกิน ๘ ราย

5 สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)
บทบาทหน้าที่ของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)

6 สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)
บทบาทหน้าที่ของ สภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (นวนช.)

7

8

9 แนวทางการบริหารจัดการและติดตามโครงการวิจัย
ภายใต้แผนงานด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ 2560 (ในส่วนที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพ) นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งบประมาณแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ (งบประมาณ 15, ลบ.) งบประมาณ (ล้านบาท) บัญชี นวัตกรรม ไทย Super Cluster/ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ท้าทาย มุ่งเป้า วิจัยพื้นฐาน วิจัยและพัฒนา วิจัยประยุกต์ พัฒนาระบบมาตรฐานการวิจัย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย R&D for competitiveness R&D for knowledge R&D for Infrastructure 7, ลบ. 46.64 % 4, ลบ. 27.41 % 3, ลบ. 25.95 %

10 1. วิจัยและพัฒนามุ่งตอบสนองภาคการผลิตสาขายุทธศาสตร์และแก้ไขปัญหาสำคัญของประเทศ
(งบประมาณ ลบ.) ตัวชี้วัดเป้าหมาย : ผลงานวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของโครงการวิจัยที่แล้วเสร็จ ตัวชี้วัดแนวทาง : โครงการวิจัยที่ร่วมวิจัยกับภาคเอกชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 งบประมาณแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ กลุ่ม Super Cluster /10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จำแนกรายหน่วยงาน งบประมาณวิจัยแบบบูรณาการ ด้านการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ กลุ่ม Super Cluster /10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จำแนกรายสาขา ยานยนต์สมัยใหม่, 96.50 ลบ. , (10.09%) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, ลบ., 17% กองทุนสนับสนุนการวิจัย , ลบ., (47.05%) ดิจิตอล, ลบ., (10.59%) เชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ, 80.61 ลบ. , (8.43%) มหาวิทยาลัยมหิดล, ลบ., 12% อาหารแห่งอนาคต, ลบ. , (11.76%) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์, 78.50 ลบ. , (8.21%) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 1.50 ลบ., (0.16%) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ , ลบ.,(10.82%) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ, ลบ. , (19.43%) ขนส่งและการบิน, 61.00 ลบ., (6.38%) บัญชีสิ่งประดิษฐ์ไทย, 95.33 ลบ. (76.76%) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ , ลบ., (3.76%) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, ลบ., (0.61%) อื่นๆ, ลบ. , (1.15%) การแพทย์ครบวงจร, ลบ. , (22.17%) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9.29 ลบ., (0.97%) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ลบ., (3.11%) และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, 8.55 ลบ., (0.89%) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 9.60 ลบ., (1%) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ลบ., (1.68%) กรมวิทยาศาสตร์บริการ , ลบ., (1.39%) อิล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ, 8.50 ลบ. , (0.89%) รายหน่วยงาน รายสาขา

11 พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย บุคลากรด้านการวิจัยและระบบมาตรฐานการวิจัยทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย งบประมาณ 3, ล้านบาท 14 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : สป.วท./พว./สวทน./สทน./สป.ศธ./สกอ./ ศก./อบ./สต./สวรส./วช./สตร./วว./สกว. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย งบประมาณ 1, ล้านบาท 12หน่วยงานที่รับผิดชอบสป.วท./ปส./สทน./ศก./มอ./อบ./มจธ./มช./มข./มธ./รจ./วช. พัฒนา/มาตรฐานวิจัย งบประมาณ ล้านบาท 6 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : พว./สป.ศธ./มร./มจธ./มธ/วช. ตัวชี้วัดเป้าหมาย : หน่วยงานที่ใช้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัยเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย : สัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากรเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย : หน่วยงานที่นำระบบ/มาตรฐานการวิจัยที่ได้รับการพัฒนาไปใช้เพิ่มเติม ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนความร่วมมือการบูรณาการและการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยร่วมกัน ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยในสาขาสำคัญต่อการพัฒนาของประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ตัวชี้วัดแนวทาง : จำนวนระบบ/มาตรฐานการวิจัยที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนา (10 ระบบ/มาตรฐาน) การส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค และการ บ่มเพาะผู้ประกอบการธุรกิจ การก่อสร้างอาคารพัฒนาวัสดุอ้างอิงรับรอง ด้านมาตรวิทยาเคมี  การเพิ่มศักยภาพด้านมาตรวิทยารังสี การจัดตั้งศูนย์สัตว์ทดลองเพื่อสนับสนุนการวิจัย ด้านเภสัชรังสี  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการเป็นเลิศ รองรับการวิจัยของมหาวิทยาลัย  การจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยวิทยาศาสตร์ฮาลาลชั้นสูง ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายบุคลากรภาครัฐไปทำงานตามความ ต้องการภาคอุตสาหกรรมสาขายุทธศาสตร์ (Talent Mobility)  พัฒนาบุคลากรด้าน STEM และเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร ด้านวทน. ขั้นสูงตามความต้องการในสาขายุทธศาสตร์ประเทศ สร้างศักยภาพและความสามารถนักวิจัย ผลงานวิจัยและ นักวิจัยที่มีคุณภาพ  ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ อาจารย์รุ่นกลาง วุฒิเมธีวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส และศาสตรจารย์ ดีเด่น  ทุนสนับสนุนไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ และในประเทศ ใน สาขาขาดแคลนและสนับสนุน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย  สนับสนุนการจัดหลักสูตรการศึกษาระดับ ม.ปลาย ใน หลักสูตรเฉพาะสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้าน ว.และ ท. การพัฒนาองค์กรให้เป็นแหล่งเชื่อมโยงทางการวิจัยของ ประเทศ และสร้างศูนย์กลางของประเทศกับประเทศในกลุ่มอาเซียน การส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการวิจัยในคน จัดทำมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สร้างมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย การรองรับโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี  พัฒนาระบบมาตรฐานคุณภาพงานวิจัยของมหาวิทยาลัย

12 แนวทางการบูรณาการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน
นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานรวบรวม “ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานทางการวิจัย” ทั้งเรื่องของอุปกรณ์และบุคลากร เพื่อเผยแพร่ฐานข้อมูลให้ประชาชนและทุกภาคส่วนที่สนใจได้ทราบข้อมูลและสามารถนำผลงานงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการเชื่อมโยงงานวิจัยและพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคม โดยรวบรวมข้อมูลศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ทั้งบุคลากร นักวิชาการ นักวิจัย เครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ ความชำนาญ การใช้ประโยชน์ ฯลฯ ไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน และให้บริการสืบค้นข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ความสามารถของฐานข้อมูล  รวบรวมข้อมูลศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน  ให้บริการสืบค้นข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึง สำรองเวลาใช้งาน ได้แบบ One stop service ผ่านเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อสนับสนุนแนวทางการบูรณาการการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน จึงเห็นควรกำหนดความสำเร็จของโครงการที่เสนอขอสนับสนุนงบประมาณด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะต้องกรอกข้อมูลของโครงการพื้นฐานดังกล่าวในระบบ STDB 01/01/62

13

14

15


ดาวน์โหลด ppt โดย นายแพทย์พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google