ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตำบลจัดการสุขภาพ ตามแนวทางการสาธารณสุขมูลฐาน
โดย นาย จรุญ ไตรวุฒิ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต 6 ชลบุรี
2
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
3
Primary Health Care สสม. 4 ประการในประกาศ Alma – Ata
1) การมีส่วนร่วมของชุมชน (People participation = P.P หรือ Community Involvement = C.I) 2) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology = A.T) 3) การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Service (BHS) หรือ Health Infrastructure 4) การผสมผสานกับงานสาขาอื่นของกระทรวงอื่นๆ (Intersectoral-Collaboration = 1C) WHO .Primary Health Care Report of the International Conference on Primary Health Care, Alma-Ata, USSR, 6-12 September whqlibdoc.who.int/publications/ pdf
4
อมร นนทสุต www.amornsrm.net
5
งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย 1. โภชนาการ 2. สุขศึกษา 3. การจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 4. การอนามัยแม่และเด็ก และการวางแผนครอบครัว 5. สุขภาพจิต 6. ทันตสาธารณสุข 7. อนามัยสิ่งแวดล้อม
6
งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง
การป้องกันโรค 8. การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น 9. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 10. การคุ้มครองผู้บริโภค 11. การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ การรักษาพยาบาล 12. การรักษาพยาบาลเบื้องต้น 13. การจัดหายาที่จำเป็นไว้ใช้ในชุมชน การฟื้นฟูสภาพ 14. การป้องกันอุบัติเหตุและฟื้นฟูสภาพคนพิการ
7
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งานสาธารณสุขมูลฐาน งานที่ประชาชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง การเฝ้าระวัง คัดกรอง มาตรการทางสังคม การอนามัยแม่และเด็ก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการของชุมชน
8
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
9
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
10
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
11
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
12
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
13
(Rajput et al., 2012) PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
14
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. แนวทางการขับเคลื่อนตำลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน 2559
15
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
16
ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
ตำบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ท้องถิ่น และทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่น ที่มีบูรณาการร่วมกัน ช่วยกันค้นหา หรือกำหนดปัญหาสุขภาพ กำหนดอนาคต ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาด้านสุขภาพและมาตรการทางสังคม รวมทั้งนวตกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนักสาธารณะ โดยเน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน มีการส่งเสริมกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน โดยการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพื่อการพึ่งพาตนเองและรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ เพื่อลดปัญหาและปัจจัยเสี่ยงในด้านพัฒนาการเด็ก อุบัติเหตุ โรคไม่ติดต่อเรื่อรัง ผู้สูงอายุ และปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและยั่งยืน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. แนวทางการขับเคลื่อนตำลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน 2559
17
สภาพปัญหา ความเป็นมาของ โครงการตำบลจัดการสุขภาพ
การเข้าถึงบริการสุขภาพในทุกระดับไม่เท่าเทียมกัน เกิดความเหลื่อมล้า ขาดโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพทำให้โรคติดต่อไม่เรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้น การมีส่วนร่วมด้านสุขภาพของชุมชน ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ ขาดการบูรณาการและพลังในการพัฒนา
18
แนวคิดโครงการตำบลจัดการสุขภาพ
สร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบผสมผสานจากหลายภาคส่วน (Multisectoral Collaboration) เน้นเอาชุมชนและพื้นที่เป็นตัวตั้ง แทน ปรับเปลี่ยนการพัฒนาจากแนวดิ่งสู่ประชาชน (Vertical and Top-down Development Approach) เป็นจากรากฐานของสังคมและชุมชน สะท้อนขึ้น สู่ระดับประเทศ(Community –Based and Bottom up Development Approach) สนับสนุนการพัฒนาในมิติอื่นๆ เช่น มิติด้านสังคม มิติด้านการศึกษา และมิติด้านเศรษฐกิจเพื่อการสร้างรายได้ที่เหมาะสม แก้ไขปัญหาความยากจน เกิดเป็นระบบสุขภาพชุมชนที่ครอบคลุมถึงสุขภาวะและความมั่นคงในชีวิตได้อย่างยั่งยืนเป็นการปลูกฝังประชาธิปไตยให้กับประชาชน PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
19
มาตรการ สื่อสารแนวทาง กำหนดเป้าหมาย
2. จัดตั้งและพัฒนาทีมสุขภาพตำบลขับเคลื่อนการดำเนินการ ทุกกลุ่มวัย -ทีมพี่เลี้ยง อำเภอละ 3คน (3,000คน) -อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน ตำบลละ 10คน (72,550คน) -อสค.ตำบลละ 12 คน (86,700 คน) 3. จัดทำแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุม ทุกกลุ่มวัย 4. ขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุม ทุกกลุ่มวัย 5. สรุปผลการดำเนินงานให้เห็นผลลัพธ์การพัฒนาตามกลุ่มวัย 6. M&E และรับรองผลตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
20
เป้าหมาย 1. ดำเนินการในทุกตำบลตามเขตการปกครอง76จังหวัด
ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จานวน7,255ตำบล (ร้อยละ 100) 2. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ (ระดับดีขึ้นไป) ร้อยละ 70 จานวน 5,079 ตำบล ปีงบประมาณ 60 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 ระดับดีมาก ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ร้อยละ 95
21
กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้
เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 5) ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ (ระดับดีเยี่ยม) 4) ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง (ระดับดีมาก) 3) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ (ระดับดี) 2) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล (ระดับพัฒนา) 1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน)
22
กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้
เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน) 1.1 มีองค์ประกอบเครือข่าย 1.2 มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตำบล 1.3 มีการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพตำบล 1.4 มีการพัฒนาความรู้ อสม. 1.5 มีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทุนของวิสาหกิจชุมชน 2) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล (ระดับพัฒนา) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐานครบทุกข้อ) 2.1 มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูล 2.2 มีการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพ 2.3 มีการร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพตำบล 2.4 มีการระดมทรัพยากร ทุน และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.5 มีการวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน
23
กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้
เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 3) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ (ระดับดี) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในดับพื้นฐานและระดับพัฒนาครบทุกข้อ) 3.1 Care manager Care giver หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (LTC) 3.2 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของผู้สูงอายุ 3.4 มีชุมชน/ท้องถิ่น/อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน/อสค. 3.5 วิสาหกิจชุมชน 4) ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง (ระดับดีมาก) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา และระดับดี ครบทุกข้อ) 4.1 มีระบบการส่งเสริมสุขภาพ 4.2 มีข้อมูลที่จำเป็น 4.3 มีการสรุปประเมินผล 4.4 มีผลลัพธ์ของการพัฒนา 4.5 มีวิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน
24
กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้
เกณฑ์การประเมิน กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพประกอบด้วย ๕ ระดับ ดังนี้ 5) ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ (ระดับดีเยี่ยม) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา ระดับดี และระดับดีมากครบทุกข้อ) 5.1 มีวิทยากรชุมชน 5.2 มีการสรุปบทเรียนการพัฒนา 5.3 มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 5.4 มีผลกระทบของการพัฒนาทำให้ปัญหาสุขภาพ ใน ทุกกลุ่มวัย และปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ลดลง 5.5 มีวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า
25
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
รายงานผ่านเว็บไซต์กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
26
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
27
โอกาสในการพัฒนา 1.กำหนดนโยบายให้เกิดความร่วมมือการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพทุกระดับอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็งและสามารถจัดการตนเองไปสู่เป้าหมายสุขภาพดีอย่างยั่งยืน 2.ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง และระดับประเทศ เนื่องจาก การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ สามารถบูรณาการการทำงานและสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ 3.กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทเป็นผู้สนับสนุนหลัก PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
28
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
29
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
30
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
31
PowerPoint slides: สุธาทิพย์ จันทรักษ์
32
เชื่อมั่น และ ทำให้เป็นจริง
อมร นนทสุต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.