ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ณ ห้องประชุมสุขุมอัศเวศน์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง“แนวทางปฏิบัติสำหรับการปฏิบัติงานพัสดุ” วันที่ กรกฎาคม 2550 ณ ห้องประชุมสุขุมอัศเวศน์ ผลการวิจัย
2
วงจรการบริหารงานพัสดุ
วางแผน กำหนดโครงการ จำหน่าย กำหนดความต้องการ ควบคุม ขอตั้งงบประมาณ แจกจ่าย วางแผนการจัดหา จัดหา
3
หลักการจัดหาที่ดี ประสิทธิผล กระบวนการดำเนินการ ประสิทธิภาพ
พัสดุที่จัดหา คุณภาพดี มีปริมาณถูกต้อง ส่งของตรงเวลา ราคาที่เหมาะสม คุณสมบัติผู้ประกอบ กระบวนการดำเนินการ กระบวนการพิจารณา ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด โปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม ตรวจสอบได้ จรรยาบรรณ
4
หลักการจัดหาที่ดี 1. พิจารณาความจำเป็น/ความต้องการในการใช้งาน
2. พิจารณากำหนดคุณลักษณะเฉพาะ/รูปแบบ/รายการละเอียด 3. พิจารณาวิธีการจัดหา 4. ดำเนินการจัดหา 5. คัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 6. แจ้ง/ทำความตกลง หรือทำสัญญา 7. ควบคุมการปฏิบัติตามสัญญา 8. ตรวจรับ
5
หลักการจัดหาที่ดี (ต่อ)
9. ลงบัญชี/ทะเบียน และส่งมอบผู้ใช้งาน 10. ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องในระหว่างรับประกัน
6
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี
ทำรายงานขอซื้อ/จ้างพัสดุทั่วไป เจ้าหน้าที่พัสดุ ที่ดิน ให้ความเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ตกลงราคา ดำเนินการ ประกวดราคา สอบราคา ขออนุมัติซื้อ/จ้าง วิธีพิเศษ กรณีพิเศษ ทำสัญญา วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) เปลี่ยนแปลงรายการ การซื้อการจ้างทั่วไป การจ้างก่อสร้าง ตรวจรับ งด/ลดค่าปรับ ขยายเวลา เบิกจ่าย บอกเลิก
7
ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อบกพร่องในการจัดซื้อจัดจ้าง
1. การกำหนด Specifications ไม่ถูกต้อง 2. ปัญหาการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 3. การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาในการจ้างก่อสร้าง 4. การเผยแพร่ประกาศสอบราคา 5. ระยะเวลาในการยื่นซองสอบราคา 6. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ก่อนเปิดซองราคา ตามหนังสือด่วนมาก ที่ นร(กวพ) 130/ว7286 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2542
8
ข้อสังเกตเกี่ยวกับข้อบกพร่องในการจัดซื้อจัดจ้าง
7. ระยะเวลาในการประกาศประกวดราคา 8. วิธีการปิดประกาศประกวดราคา 9. วิธีการส่งประกาศประกวดราคาทางไปรษณีย์ 10. การซื้อ การจ้าง โดยวิธีพิเศษ
9
ขั้นตอนการจัดหาวัสดุ
ภาควิชา/หน่วยงาน จัดทำคำขอพัสดุ (พร้อมกรรมการตรวจรับ+ใบเสนอราคา) การแต่งตั้งกรรมตรวจรับพัสดุ) พัสดุตรวจสอบ เอกสารเพื่อขออนุมัติ งบประมาณแผ่นดินไม่เกิน 10,000 บาท งบประมาณเงินรายได้ไม่เกิน 20,000 บาท ข้าราชการต่ำกว่าระดับ 3 ลูกจ้างประจำ พนักงานมหาวิทยาลัย จนท.ภาควิชา/หน่วยงาน นำใบส่งของ/ ใบตรวจรับให้กรรมเซ็นตรวจรับพัสดุ ส่งเอกสารคืนให้พัสดุ
10
ขั้นตอนการเบิกวัสดุจากส่วนกลาง
ภาควิชา/หน่วยงาน ทำใบเบิก 4 สี พัสดุตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งรับของ จ่ายของตามใบเบิก ภาควิชา/หน่วยงาน ทำบัญชีคุมวัสดุ พัสดุคืนใบเบิกสีเขียว, ชมพู
11
ขั้นตอนการจัดหาครุภัณฑ์
ตกลงราคาไม่เกิน 10,000 บาท แต่งตั้งกรรมการตรวจรับ ภาควิชากำหนด Spac พร้อมเสนอชื่อกรรมการฯ สอบราคาเกิน 100,000 บาท แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคา -แต่งตั้งกรรมการตรวจรับพัสดุ พัสดุดำเนินการตามขั้นตอน ตรวจสอบและขออนุมัติ นำใบเบิกให้กรรมการ เซ็นรับของ ส่งเอกสารให้พัสดุ
12
การควบคุมและการเก็บรักษาพัสดุ
- จัดทำแนวปฏิบัติหรือคู่มือเกี่ยวกับการใช้พัสดุ สร้างจิตสำนึก การใช้ ดูแล พัสดุ สำรวจพัสดุ ให้ถูกต้องตามความเป็นจริง ทำรายงานสำรวจตามระยะเวลาที่ระเบียบกำหนด สถานที่เก็บพัสดุอยู่ในสภาพที่ดี ปลอดภัย มีการบันทึกการใช้รถยนต์ กำหนดเกณฑ์การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
13
การซ่อมแซมและการบำรุงรักษา
- กำหนดแผนการซ่อมบำรุงของพัสดุ - กำหนดหรือมอบหมายให้ผู้ใช้เป็นผู้ดูแลรักษาพัสดุ - ทำทะเบียนประวัติการซ่อมทุกครั้ง - ประกันภัยทรัพย์สินที่มีมูลค่าสูง
14
งานซ่อมแซมครุภัณฑ์ ใช้ขั้นตอนการจัดหาวัสดุโดยอนุโลม หากซ่อมแซมที่ทำให้ Spec เปลี่ยนไป เนื่องจาก Upgraded ให้ภาควิชาฯ แจ้งหน่วยพัสดุเพื่อแก้ไขในทะเบียนให้ถูกต้อง เพื่อมิให้เกิดปัญหาในการตรวจสอบพัสดุประจำปี
15
ขั้นตอนการซ่อมครุภัณฑ์
ภาควิชา/หน่วยงาน ทำคำขอซ่อมครุภัณฑ์ สำนักงานเลขาฯ - ผ่านความเห็นชอบจากอาคารสถานที่ เฉพาะคอมพิวเตอร์ผ่านความเห็นชอบ จากหน่วยวิทยบริการ พัสดุตรวจสอบงบประมาณ เสนอคณบดีอนุมัติ พัสดุเสนอเลขาฯ เห็นชอบ / ส่งของ กรรมการเซ็นตรวจรับ เห็นชอบ/ดำเนินการจัดจ้าง ไม่เห็นชอบ/ แจ้งเหน่วยงาน ส่งเอกสารพัสดุ ส่งกรรมการเซ็นตรวจรับ ส่งเอกสารพัสดุ
16
ขั้นตอนการจัดจ้างสิ่งก่อสร้าง
ภาควิชากำหนดความต้องการและรายละเอียด พัสดุส่งแบบรูปรายการให้กองสวัสดิการ ดำเนินการจัดจ้างตามระเบียบฯ โดยดูวงเงินที่จะจ้าง ตรวจรับงาน รวบรวมเอกสารส่งตั้งเบิก
17
งานรับครุภัณฑ์บริจาค
ภาควิชาจะประสานงานกับหน่วยพัสดุเป็นกรณีๆ ไป โดย ยึดหลักที่ว่าภาควิชาฯ เป็นผู้ให้ข้อมูลและหน่วยพัสดุเป็นผู้ติดต่อและจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง
18
งานจัดซื้อวัสดุด้วยเงินสด (กรณีร้านค้าไม่มีระบบเงินเชื่อ)
ทำเรื่องขอจัดซื้อ / แนบบิลใบเสร็จ ปั๊มตรายาง / เซ็น บิลเงินสด :- รับรองใบสำคัญถูกต้อง จ่ายเงินทดรองแล้ว กรรมการตรวจรับ สลักหลังบิลเงินสด พัสดุตรวจสอบความถูกต้อง เสนออนุมัติ / สั่งการ ส่งการเงินตั้งเบิก
19
การตรวจสอบพัสดุประจำปี รับ-จ่ายพัสดุประจำปี การตรวจสอบหาข้อเท็จจริง
ครุภัณฑ์ชำรุด การจำหน่าย ครุภัณฑ์ชำรุด
20
การรับ-จ่ายพัสดุประจำปี
การตรวจสอบพัสดุประจำปี ภายใน 30 วันทำการ ภาควิชา/หน่วยงาน เสนอชื่อกรรมการ พัสดุดำเนินการแต่งตั้งกรรมการ ตรวจสอบการรับ-จ่ายพัสดุ ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตรวจสอบการรับ-จ่ายพัสดุประจำปี ของภาควิชา/หน่วยงาน หน่วยพัสดุรายงานมหาวิทยาลัยฯ และสนง.ตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค รายงานผลการตรวจสอบ รับ-จ่ายพัสดุประจำปีต่อคณบดี
21
การตรวจสอบหาข้อเท็จจริงครุภัณฑ์ชำรุด
แต่งตั้งคณะกรรมการ สอบหาข้อเท็จจริงครุภัณฑ์ชำรุด คณะกรรมการรายงานผลการสอบ ข้อเท็จจริง แจ้งสภาพของครุภัณฑ์ จำหน่าย / คงไว้ คณะกรรมการรายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบและสั่งการ เสนอมหาวิทยาลัยทราบ/สั่งการ
22
การจำหน่ายครุภัณฑ์ชำรุด การจำหน่ายครุภัณฑ์ชำรุด จำหน่ายครุภัณฑ์ชำรุด
ภายใน 60 วัน แต่งตั้งคณะกรรมการ จำหน่ายครุภัณฑ์ชำรุด ประกาศขายทอดตลาด รายงานผลมหาวิทยาลัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.