งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล กองการเจ้าหน้าที่

2 การดำเนินงาน K1-3 ในปีที่ผ่านมา
คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) มีข้อมูลประกอบการวางแผนในเชิงนโยบาย มีข้อมูลใน DPIS ที่ครบถ้วน ถูกต้องมากขึ้น มีข้อสงสัยต่อคะแนนผลการประเมินความผูกพัน ? ควรนำคะแนนคำรับรองมาใช้ร่วมในการประเมินหรือไม่ ? ตอบสนองต่อแผน HR Scorecard ภาพใหญ่หรือไม่ ? K1 การประเมินสถานภาพ ด้าน HR K2 ความถูกต้องของ ฐานข้อมูล DPIS K3 ความผูกพันของบุคลากร ต่อองค์กร กองการเจ้าหน้าที่

3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554-2558
OFI การพัฒนาแผนกำลังคน OFIการพัฒนาบุคลากรผู้มีศักยภาพสูง OFI ความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและสมดุลชีวิตกับการทำงาน มิติที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ มิติที่ 4 ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 2 ประสิทธิภาพของการ บริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 3 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล OFI การสร้างความ โปร่งใส ตรวจสอบสอบ ได้ และเป็นธรรม OFI การใช้ข้อมูล สารสนเทศในการวางแผน /ตัดสินใจ OFI การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่

4 OFI ความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร
ในการวางแผน/ตัดสินใจ Design Plan Do Check Action กองการเจ้าหน้าที่

5 OFI ความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร
ในการวางแผน/ตัดสินใจ PDCA Cycle Add Your Text 1. Collect PDCA Cycle 2. Analyze 4. Evaluate 3. Improve กองการเจ้าหน้าที่

6 L O S 3-Index KPIs ( HR Leading Index)
คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) ( HR Leading Index) มีการเฝ้าระวังและพัฒนาสุขภาพกำลังคน Add your text in here Text1 Text2 S L O (HR Operational Index) มีการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของกำลังคน (HR Strategic Index) มีการสร้างความต่อเนื่องทางการบริหารและการวางแผนกำลังคน กองการเจ้าหน้าที่

7 1441 736 255 กองการเจ้าหน้าที่

8 (HR Strategic Index) มีการสร้างความต่อเนื่องทางการบริหารและการวางแผนกำลังคน
1) ร้อยละของจำนวนข้าราชการที่หน่วยงานส่งเข้าสมัครรับการคัดเลือกเพื่อเข้าร่วมโครงการพัฒนาข้าราชการกลุ่มศักยภาพสูง เทียบกับตำแหน่งกลุ่มเป้าหมายที่กรมสุขภาพจิตกำหนด 2) ร้อยละของจำนวนข้าราชการของหน่วยงานตามโครงการพัฒนาข้าราชการกลุ่มศักยภาพสูง ที่เข้ารับการอบรม/สัมมนา ตามที่กรมสุขภาพจิตกำหนด 3) มีการวิเคราะห์และวางแผนการใช้กำลังคนและการบริหารตำแหน่งว่างของหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่

9 (HR Operational Index) มีการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของกำลังคน
1) มีการจัดทำข้อมูลรายงานผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD Index) 2) จัดทำข้อมูล HR Productivity (ย้าย/โอน/ลาออก/บรรจุ/จำนวนวันลาหยุดหรือมาสาย) กองการเจ้าหน้าที่

10 ( HR Leading Index) มีการเฝ้าระวังและพัฒนาสุขภาพกำลังคน
1) มีการจัดทำแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานตามแนวทางที่กรมสุขภาพจิตกำหนด 2) มีการดำเนินการตามแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน 3) มีการประเมินความผูกพันบุคลากรต่อองค์กรตามแบบสำรวจและจำนวนที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนด กองการเจ้าหน้าที่

11 ลูกจ้างประจำ + พนักงานราชการ
3) มีการประเมินความผูกพันบุคลากรต่อองค์กรตามแบบสำรวจและจำนวนที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนด ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ + พนักงานราชการ กองการเจ้าหน้าที่

12 รอบการประประเมิน 6 เดือนแรก 5 คะแนน 6 เดือนหลัง 5 คะแนน
1) ร้อยละบุคลากรในโครงการที่เข้ารับการอบรม 1) ร้อยละบุคลากรที่สมัครโครงการพัฒนาข้าราชการกลุ่มศักยภาพสูง 2) วิเคราะห์และวางแผนการใช้กำลังคน 3) มีการจัดทำข้อมูลรายงานผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD Index) 2) วิเคราะห์และวางแผนการใช้กำลังคน 4) จัดทำข้อมูล HR Productivity (ย้าย/โอน/จำนวนวันลาหยุดหรือมาสาย) 3) มีการจัดทำแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานตามแนวทางที่กรมสุขภาพจิตกำหนด 5) มีการดำเนินการตามแผนป้องกันและปราบปราม การทุจริตของหน่วยงาน 6) มีการประเมินความผูกพันบุคลากรต่อองค์กรตามแบบสำรวจและจำนวนที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนด กองการเจ้าหน้าที่

13 เงื่อนไขพิเศษ Plus (คะแนนบวกเพิ่ม)
6 เดือนแรก 0.25 คะแนน 6 เดือนหลัง 0.30 คะแนน มีการนำข้อมูลที่ได้จาก ตัวชี้วัดวัดย่อย S, O และ L มาวิเคราะห์และวางแผนปรับปรุงทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน มีการนำข้อมูลที่ได้จาก ตัวชี้วัดวัดย่อย S มาวิเคราะห์และวางแผนปรับปรุงทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน 2) บุคลากรของหน่วยงานเข้าร่วมโครงการพัฒนาความเป็นผู้นำด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยในกลุ่มประชาคมอาเซียน 2)มีการประเมินความโปร่งใสและตรวจสอบได้ของหน่วยงานตามที่ กองการเจ้าหน้าที่กำหนด 3) มีการดำเนินการตามแผนการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร กองการเจ้าหน้าที่

14 แบบฟอร์ม S-1 ส่งเอกสาร (Paper)
Download แบบฟอร์มได้ที่

15 แบบฟอร์ม O-1 ส่งเอกสาร (Paper) + File Excel
Download แบบฟอร์มได้ที่

16 แบบฟอร์ม O-1 ส่งเอกสาร (Paper) + File Excel
Download แบบฟอร์มได้ที่

17 แบบฟอร์ม O-2 ส่ง File Excel
Download แบบฟอร์มได้ที่

18 แบบฟอร์ม Plus2/1 ส่ง เอกสาร (Paper)
Download แบบฟอร์มได้ที่

19 แบบฟอร์ม Plus2/2 ส่ง เอกสาร (Paper)
Download แบบฟอร์มได้ที่

20 ขอบคุณครับ โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล กองการเจ้าหน้าที่

21 Cycle Diagram 2. Analyze 1. Collect PDCA Cycle 4. Evaluate 3. Improve

22 S L O 3-D Pie Chart Text1 Text2
You can briefly add outline of this slide page in this text box. L Text1 Text2 S O

23 O S L 3-D Pie Chart Text1 Text2
You can briefly add outline of this slide page in this text box. Text1 Text2 S O L

24 L O S 3-D Pie Chart Text1 Text2
You can briefly add outline of this slide page in this text box. Text1 Text2 S O L


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google