ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผลการประเมินตนเอง ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2553
2
ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ของกรมการแพทย์ กลุ่มภารกิจ ร้อยละ 10 กรม ร้อยละ 25 ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ - กระทรวง ร้อยละ 5 - นโยบายสำคัญ/รัฐบาล ร้อยละ 3 - ระหว่างกระทรวง ร้อยละ 10 - พัฒนาศูนย์บริการร่วม ร้อยละ 2
3
ผลการประเมินตนเองในแต่ละมิติ
ภาพรวมคะแนนในแต่ละมิติ เกณฑ์ มิติ กรม กระทรวง กลุ่มภารกิจ
4
ผลการประเมินตนเองของกรมการแพทย์
เกณฑ์ ตัวชี้วัด
5
ตัวชี้วัดระดับ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์
ตัวชี้วัดที่ 2.1การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการแพทย์เฉพาะทางและการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (น้ำหนักร้อยละ 5) ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการจำหน่ายแบบครบเกณฑ์ที่กำหนด (น้ำหนักร้อยละ 5) เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน 1 2 3 4 5 ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ 2.2.1กรมการแพทย์ 50 60 70 72.5 75 68.41 2.8410 2.2.2 กรมสุขภาพจิต 80 90 95 96 97 98.72 เจ้าภาพตัวชี้วัด: สถาบันธัญญารักษ์
6
ตัวชี้วัดระดับกรม กรมการแพทย์
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของกรมการแพทย์ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนักร้อยละ 5 น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน 1 2 3 4 5 ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ จำนวนองค์ความรู้ที่ศึกษาและถ่ายทอดด้านยาและสารเสพติด 80 85 90 95 100 จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่ให้บริการ จำนวนผู้ป่วยสารเสพติดที่ให้บริการ จำนวนองค์ความรู้ที่ศึกษาและถ่ายทอด จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการด้านการแพทย์ฯ เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองแผนงาน
7
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของแพทย์ประจำบ้าน กรมการแพทย์ ที่ได้รับการอบรม พัฒนา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการอบรม น้ำหนักร้อยละ 6 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : ปีงบประมาณ พ.ศ แพทยสภาอนุมัติให้ โรงพยาบาล/สถาบัน ในสังกัดกรมการแพทย์ เปิดฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาต่างๆ ทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว ประจำปีการศึกษา 2553 ทั้งหมด 42 สาขา โควตา 209 ราย ได้แก่ 1. สถาบันโรคทรวงอก 6. โรงพยาบาลเลิดสิน 2. สถาบันโรคผิวหนัง 7. โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 3. สถาบันประสาทวิทยา โรงพยาบาลราชวิถี 4. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 9. โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) 5. สถาบันพยาธิวิทยา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ผลการดำเนินงาน 93.33 ค่าคะแนนที่ได้ เข้าสอบ 150 คน ไม่ผ่าน 10 คน เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์
8
เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์
ตัวชี้วัดที่ 3.3 จำนวนด้านของบริการระดับตติยภูมิที่เครือข่ายได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนักร้อยละ 6 เงื่อนไข : 1. นับจำนวนด้านของบริการตติยภูมิที่ได้รับการพัฒนาเป็นปริมาณสะสม ตั้งแต่ 2. ผลงานปี 2553 เป็นการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ ปี 3. ผลงานปี จัดทำรายงานความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามแผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 15 16 17 18 19 จำนวนด้านของบริการระดับตติยภูมิที่จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในปี 2553 -ด้านโสต ศอ นาสิก ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างการสรุป -ด้านทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างการสรุป -ด้านฟื้นฟูผู้พิการ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 1 รายงาน -ด้านพยาธิวิทยา ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 1 รายงาน ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ 19 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์
9
เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์
ตัวชี้วัดที่ 3.4 จำนวนสถานบริการที่ได้รับการพัฒนาตามขั้นตอนการรับรองคุณภาพ HA น้ำหนักร้อยละ 8 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 7 8 9 10 11 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : ผ่านการรับรองคุณภาพ HA Re-Accredit 1.สถาบันโรคทรวงอก 2.ศูนย์มหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี 3.ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟู สมรรถภาพ ฯ 4.ศูนย์บำบัดรักษา ยาเสพติดขอนแก่น 5. ร.พ.สงฆ์ 6.ร.พ.ประสาทเชียงใหม่ 7.สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 1.สถาบันสุขภาพเด็กฯ 2.ร.พ.ราชวิถี 3.สถาบันประสาทวิทยา 4.ร.พ.เลิดสิน 5.สถาบันธัญญารักษ์ ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ 12 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์
10
คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ :
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย น้ำหนักร้อยละ 3 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 65 70 75 80 85 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : ใช้ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้ประเมินอิสระ ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ N/A 1
11
คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ :
ตัวชี้วัดที่ 5.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ น้ำหนักร้อยละ 4 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 65 70 75 80 85 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : ใช้ข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้ประเมินอิสระ ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ N/A 1
12
ตัวชี้วัดที่ 5.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต น้ำหนักร้อยละ4
คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : คณะกรรมการศูนย์ประสานราชการ ใสสะอาด กรมการแพทย์ ได้จัดประชุม ศึกษา พิจารณา ยุทธศาสตร์ชาติฯ ผลการดำเนินงานภายในปีที่ผ่านมา สรุปข้อร้องเรียนความเสี่ยงจากการดำเนินงานและโครงการสำคัญ 3 โครงการ จัดทำร่างแผนปฏิบัติการประจำปี เสนอที่ประชุมเครือข่าย เพื่อพิจารณาความเสี่ยงและร่างแผนฯ ก่อนนำเสนอที่ประชุมกรมการแพทย์ครั้งที่ 3/2553 เมื่อ 24 มีนาคม พิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วเผยแพร่ใน website กรมการแพทย์ แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ ดำเนินงานและรายงานผล รอบ 6 เดือน ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ระดับ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองแผนงาน/กองการเจ้าหน้าที่
13
ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้
ตัวชี้วัดที่ 5.5 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ น้ำหนักร้อยละ4 ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ระดับ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: สำนักงานเลขานุการกรมการแพทย์
14
งบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ได้รับจัดสรร = 3,559,729,160.00
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนักร้อยละ2 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 92 93 94 95 96 ผลการดำเนินงาน : จากระบบ GFMIS งบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ได้รับจัดสรร = 3,559,729,160.00 เบิกจ่าย = 3,560,076,538.35 ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ 100 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองคลัง
15
ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ น้ำหนักร้อยละ1
ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ขั้นตอนที่ 4 4.422 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองคลัง
16
ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้
ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน น้ำหนักร้อยละ1.5 ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ขั้นตอนที่ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองคลัง
17
ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน น้ำหนักร้อยละ1.5
การดำเนินงาน : - จัดทำกระดาษทำการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการ ตรวจสอบ - จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) ตามแผนการ ตรวจสอบประจำปี โดยเรื่องที่จะตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำปีที่วางไว้ ได้จัดทำแผนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. การตรวจสอบด้านการเงินและการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ 1.1 การตรวจสอบบัญชีและรับรองงบการเงินกองทุนสวัสดิการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ 1.2 การยืมเงิน 1.3 เงินทดรองราชการ 1.4 การเก็บรักษาเงิน (เงินสดและเอกสารแทนตัวเงิน) 1.5 การเรียกเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน 1.6 การควบคุมพัสดุ 2. การตรวจสอบด้านการปฏิบัติงานหรือการดำเนินงาน จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ 2.1 การตรวจสอบการปฏิบัติการโครงการตรวจประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ 2.2 การตรวจสอบการดำเนินงานการติดตามการจัดทำรายงานการเงินในระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างและระบบ GFMIS ของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ งวดปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ขั้นตอนที่ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กลุ่มตรวจสอบภายใน
18
จัดทำบัญชีต้นทุนผลผลิตระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ตัวชี้วัดที่ 10.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต น้ำหนักร้อยละ4 คำชี้แจงการปฏิบัติงาน/มาตรการที่ได้ดำเนินการ : จัดทำบัญชีต้นทุนผลผลิตระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มีการประชุมทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย และหน่วยนับ ณ โรงแรมริชมอนด์ วันที่ พฤษภาคม 2553 ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ขั้นตอนที่ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กองคลัง
19
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ20
ผลการดำเนินงาน ผลงาน ค่าคะแนนที่ได้ ขั้นตอนที่ 5 5 เจ้าภาพตัวชี้วัด: กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
20
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ คำรับรองการปฏิบัติราชการ พัฒนา องค์กร Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนการบริหารราชการแผ่นดิน) 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระบบควบคุมภายใน Blueprint for Change Capacity Building Redesign Process Knowledge Management e-government MIS
21
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด ” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 Successful Level 10 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
22
เปรียบเทียบระดับคะแนนรายหัวข้อของการผ่านเกณฑ์ฯ
หมวด/หัวข้อ
23
หมวด1 การนำองค์กร LD2 Empowerment กำหนดทิศทางองค์กร
วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง LD1 OP(1) พันธกิจ OP(8) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดทิศทางองค์กร สื่อสารเพื่อถ่ายทอดไปสู่ปฏิบัติ OP(3) บุคลากร สร้างบรรยากาศ LD2 Empowerment HR1 ปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ LD3 การเรียนรู้ ความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ LD4 IT1 ระบบฐานข้อมูลผลดำเนินการ IT5 ระบบเฝ้าระวังเตือนภัย SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ PM6 ปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้นและลดความสูญเสีย การทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน LD5 OP(6) โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแลตนเองที่ดี SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ RM1 โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 OP(5) กฎระเบียบข้อบังคับ ระบบควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง LD7 การจัดการผลกระทบทางลบ
24
หมวด2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
ปัจจัยภายใน ภายนอก OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง OP5,6 กฎ ระเบียบ โครงสร้าง OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD1 ทิศทางองค์กร LD4 ผลการดำเนินการ LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 ความเสี่ยง LD7 ผลกระทบทางลบ IT1 ฐานข้อมูลยุทธศาสตร์และผลดำเนินการ การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ (4ปี, 1ปี) SP1 กำหนดขั้นตอน กิจกรรม กรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ SP2 นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหาร แผนทรัพยากร HR3 พัฒนาบุคลากร OP3 บุคลากร OP4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ SP4 LD1 สื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทาง สื่อสารสร้างความเข้าใจ OP3 บุคลากร SP5 LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ ถ่ายทอดเป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล IT1 ระบบฐานข้อมูลผลดำเนินการ หมวด7 SP6 ถ่ายทอดเป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล LD5,6 ความเสี่ยงตาม COSO-SOFC ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล IT6 ความเสี่ยงจากICT SP ความเสี่ยงจากยุทธศาสตร์ PM ความเสี่ยงจากระบวนการ SP7 RM2 ผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง
25
หมวด3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
OP8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ CS2 ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวัง PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ CS3 ระบบการจัดการข้อร้องเรียน RM6 จำนวนกระบวนการที่ปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น CS4 การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS5 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม CS6 วัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ RM3 ร้อยละความสำเร็จของการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม CS7 กำหนดมาตรฐานการบริการ PM5 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
26
หมวด4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 ตัวชี้วัดเป้าหมาย SP6 รายละเอียดโครงการ RM ผลการดำเนินการ ฐานข้อมูล หมวด7 IT1 ฐานข้อมูลยุทธศาสตร์และผลการดำเนินการ RM4.2 ข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบ StatXchange IT2,3 ฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการ PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน RM6 การปรับปรุงกระบวนการ LD4 ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ IT5 ระบบติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย CS5 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย IT4 RM4.1 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ IT6 SP7 แผนบริหารความเสี่ยง PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ RM2 การบริหารความเสี่ยง OP15 การเรียนรู้ขององค์กร LD3 บรรยากาศการเรียนรู้ HR3 การพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร IT7 การจัดการความรู้ RM4.3 การจัดการความรู้
27
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
HR1 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ ของบุคลากร OP3 บุคลากร SP5 การถ่ายอดตัวชี้วัดและเป้าหมายองค์กรสู่ระดับบุคคล HR2 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน HR3 ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล RM7 การพัฒนาบุคลากร HR4 ระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรมความคุ้มค่าของการพัฒนาและฝึกอบรม HR5 การสร้างความก้าวหน้า ให้บุคลากร
28
หมวด6 การจัดการกระบวนการ
OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ SP1 แผนยุทธศาสตร์ OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย IT2,3 ฐานข้อมูลสนับสนุนกระบวนการ PM1 กำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า/สนับสนุน ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด3) PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ ตัวชี้วัดของกระบวนการ OP5 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ PM3 ออกแบบกระบวนการ ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ปัจจัยประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉินและผลกระทบ IT6 บริหารความเสี่ยง ICT SP7 ระบบบริหารความเสี่ยง COSO HR3 พัฒนาบุคลากร PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน การดำเนินการและติดตามการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน OP14 แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ IT7 การจัดการความรู้ PM6 ปรับปรุงกระบวนการ RM6 จำนวนกระบวนการที่ปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น
29
หมวด7 ผลลัพธ์ 7.1 7.2 7.3 มิติด้านประสิทธิผล 7.4 มิติด้านประสิทธิผล
มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM2 ตัวชี้วัดบริหารความเสี่ยง 7.3 มิติด้านประสิทธิผล RM4.1 ตัวชี้วัดความพึงพอใจของประชาชนต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM6 ตัวชี้วัดการปรับปรุงกระบวนการ IT4 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ RM5 ตัวชี้วัดการพัฒนา บุคลากร RM4.2 ตัวชี้วัดฐานข้อมูล RM4.3 ตัวชี้วัดการจัดการความรู้ RM1 ตัวชี้วัดนโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี RM6 การปรับปรุงกระบวนการ HR3 การพัฒนาบุคลากร IT1,2,3,4,5 ระบบฐานข้อมูล IT7 การจัดการความรู้ LD5 การกำกับดูแลองค์กรที่ดี
30
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน แนวทางการดำเนินการ RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/ โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีการ วัดความสำเร็จของตัวชี้วัดของมาตรการ/ โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินการมาตรการ/โครงการในแต่ละด้านของนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีตาม LD 5 วัดความสำเร็จของผลลัพธ์ ผลผลิตของทุกโครงการ ที่นำมาดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ เปรียบเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดไว้ ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของโครงการที่นำมาวิเคราะห์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตาม SP 7 RM 2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของเป้าหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง การพิจารณาร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ/โครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการให้ส่วนราชการ พิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด3 (CS5) มาใช้ประกอบการดำเนินการ RM 3 ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ/โครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
31
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน RM 4.1 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 เป็นการวัดความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ระดับ1: ทบทวนรายการข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงาน ที่นำเข้าระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ ระดับ 2: ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลสถิติสำคัญของ หน่วยงาน ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ระดับ 3: ข้อมูลสถิติที่สำคัญของหน่วยงานที่นำเข้า ระบบบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ มีความ ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน คิดเป็น ร้อยละ 70 ระดับ 4: ข้อมูลสถิติที่สำคัญของหน่วยงานที่นำเข้า ครบถ้วนถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน คิดเป็น ร้อยละ 75 ระดับ 5: ข้อมูลสถิติที่สำคัญของหน่วยงานที่นำเข้า ร้อยละ 80 RM 4.2 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ (StatXchange)
32
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน RM 4.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ การพิจารณาดำเนินการตาม RM 4.3 กรณีของส่วนราชการ ให้ยึดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) หมวด4 (IT7) มาประกอบการพิจารณาดำเนินการส่วนราชการเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นในประเด็นยุทธศาสตร์ใดก็ได้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ (ประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 องค์ความรู้) มาจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ พร้อมระบุตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม ตลอดจนระบุระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ และนำแผนการจัดการความรู้ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ ตัวชี้วัดของการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ให้นำผลจากหมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หัวข้อ 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจมาแสดง โดยจะพิจารณาจากร้อยละของบุคคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือ แผนพัฒนาบุคลากร RM 5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร
33
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน พิจารณาจากจำนวนของกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินการดีขึ้น ส่วนราชการต้องสามารถแสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นของกระบวนการ การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการที่มีต่อกระบวนการที่ได้ปรับปรุง เป็นต้น RM 6 จำนวนกระบวนการที่ ได้รับการปรับปรุงให้ผลดำเนินการดีขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.