งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560

2 หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค รพ สัตหีบ กม.10
แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ภญ ฉัตรกุล มณีพรหม หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค รพ สัตหีบ กม.10

3 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล กำหนดทีมผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของโรงพยาบาลให้สอดคล้องกับนโยบายของจังหวัด/เขตสุขภาพ พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล ให้มีรายการยาที่ควรมีและไม่ควรมีตามคู่มือการดำเนินงาน ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

4 คณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

5 บทบาทและหน้าที่คณะกรรมการRDU
กำหนดนโยบาย พัฒนาระบบ กลไกและเครื่องมือในการกำกับดูแล เพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พัฒนาระบบ กลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการดื้อยาของเชื้อก่อโรค ส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนให้เป็นไปอย่างสมเหตุผล ถูกต้องและคุ้มค่า พัฒนากลวิธีในการสร้างความตระหนักรู้ ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรทางการแพทย์ และผู้รับบริการ เพื่อนำไปสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุผลที่ยั่งยืนในสังคม ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล

6 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (ต่อ) พัฒนาฉลากยาและฉลากยาเสริม ให้มีชื่อยาภาษาไทย ขนาดยา วิธีใช้ ข้อควรระวัง และข้อบ่งใช้อย่างน้อย 13 กลุ่มยา มีการดำเนินการให้เกิดจริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา และส่งเสริมจรรยาบรรณแพทย์ในการสั่งใช้ยา ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ

7 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (ต่อ) ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) พัฒนาการดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยกลุ่มพิเศษที่มีความเสี่ยง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากยาและในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง สร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

8 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาล จัดทำแผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในสถานพยาบาลและมีระบบติดตามและรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือนให้ สสจ.และสำนักบริหารการสาธารณสุขตามลำดับชั้น

9 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 1. ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ≥ ร้อยละ 90 95.71 95.47 96.08 2. ประสิทธิผลการดำเนินงานชองคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสารและส่งเสริมเพื่อนำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระดับ 3 ระดับ 1 ระดับ 2 3.การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริมและเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่มที่มีรายละเอียดครบถ้วน รายการยา 13 กลุ่ม ระดับ 4

10 ฉลากยาช่วย

11 ฉลากยาภาษาไทย

12 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 4. จำนวนรายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล ≤ 1 รายการ 1 รายการ รายการ 5. การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา ระดับ 3 6.ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ≤ ร้อยละ 20 54.31 58.18 54.09 7. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 68.41 64.01 65.44

13 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 8. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ ร้อยละ 40 60.90 60.51 63.65 9. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ≤ ร้อยละ 10 5.41 4.12 10. ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไปที่ใช้ RAS blockade(ACEI/ARB/Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง ร้อยละ 0 0.13 11. ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamide ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี หรือมี eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ≤ ร้อยละ 20 0.23/ 0.48 0.36/ 0.59 0.14/0

14 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 12. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา Metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้ (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) ≥ ร้อยละ 80 58.01 46 59.49 13. ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน ≤ ร้อยละ 5 14. ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับยา NSAIDs ≤ ร้อยละ 10 1.62 0.21 0.42 15. ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid 80.11 86.55 91.03

15 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สัตหีบ กม.10
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 16. ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (มากกว่า 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม long-acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam, dipotassium chlorazepate ≤ ร้อยละ 5 0.33 0.49 0.34 17. จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ warfarin, statins, ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว 18. ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมโรคตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) ได้รับยาต้านฮีสตามีนชนิด non-sedating ≤ ร้อยละ 20 4.44 5.35 5.86

16 ข้อมูลจาก HDC

17 ข้อมูลจาก HDC

18 ข้อมูลจาก HDC

19 ข้อมูลจาก HDC

20 ข้อมูลจาก HDC

21 ข้อมูลจาก HDC

22 ตัวอย่างผลการดำเนินงานของ รพสต ในอำเภอหนองใหญ่
ตัวอย่างผลการดำเนินงานของ รพสต ในอำเภอหนองใหญ่

23 แนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และการกำกับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี 2560 ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดทำแผนขับเคลื่อนมาตรการและสนับสนุนการดำเนินงานของ รพ.สต. กำหนดมาตรการการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ในกลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการรักษาโรคติดเชื้อและการใช้ยาปฏิชีวนะให้บุคลากรทางการแพทย์ สร้างความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้ผู้ป่วยและประชาชน เฝ้าระวังการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และ NSAIDs และผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือนให้โรงพยาบาลแม่ข่าย

24 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด RDU ของ รพ.สต
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) (ไตรมาส 2) 19. ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20 100% ยังไม่ผ่านทุกแห่ง 20. ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20

25 ประเมินผลการดำเนินงานระดับโรงพยาบาล
มีคณะกรรมการ PTC ระดับโรงพยาบาล มีการกำหนดทีมผู้รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีการพัฒนาด้านสารสนเทศให้สามารถเก็บรายงานตามตัวชี้วัดได้ มีมาตรการ/กิจกรรม ต่อไปนี้ ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ฉลากยาและฉลากเสริม ที่มีชื่อยาภาษาไทย ขนาดและวิธีใช้ ข้อควรระวังและข้อบ่งใช้ ส่งเสริมจริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์และจรรยาบรรณแพทย์ในการสั่งจ่ายยา ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยกลุ่มพิเศษที่มีความเสี่ยงและในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องใช้ยาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง มีกิจกรรมการสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการ มีแผนปฏิบัติการให้ครอบคลุมทั้งการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา การกำกับดูแลการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล

26 ประเมินผลการดำเนินงานระดับโรงพยาบาล (ต่อ)
มีกิจกรรมในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบให้บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ใน รพ.สต เครือข่าย บูรณาการตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลใน service plan สาขาต่างๆ มีรายงานข้อมูลตามตัวชี้วัด (ข้อมูล 3 เดือน รายไตรมาส) RDU 20 ตัวชี้วัด

27 ประเมินผลการดำเนินงานระดับ รพ.สต.
มีกิจกรรมหรือเผยแพร่สื่อเพื่อสร้างความเข้าใจในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้ผู้ป่วยและประชาชน มีแผนเฝ้าระวังการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และ NSAIDs และผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายในร้านชำ มีการพัฒนาด้านสารสนเทศให้สามารถเก็บรายงานตามตัวชี้วัด มีข้อมูลอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะตามตัวชี้วัด RDU 2 ตัวชี้วัด

28 ความเชื่อมโยงระหว่าง RDU& RUA
RDU = Rational drug use = hospital RUA= Responsible Use of Antibiotics = รพ.สต URI , AD

29 การประเมินผลการดำเนินงาน
รพ ที่ผ่านเกณฑ์ RDU ประกอบด้วย รพ ผ่านเกณฑ์ 18 ข้อ และ รพสต ผ่านเกณฑ์ 2 ข้อ

30 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google