งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน หน่วยงานไตเทียม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน หน่วยงานไตเทียม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน
หน่วยงานไตเทียม

2 ผู้รับผิดชอบ 1. นางวัชราพร สนิทผล 2. นางเพ็ญจันทร์ กูลทะคำ
1. นางวัชราพร สนิทผล 2. นางเพ็ญจันทร์ กูลทะคำ 3. น.ส. นิภาพร เมาคำลี 4. น.ส. อำนวยพร ใจตื้อ

3 หลักการและเหตุผล การล้างไตทางช่องท้องเป็นการรักษาที่ผู้ป่วยและญาติจะมีบทบาทในการดูแลตนเองที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ ส่วนการติดเชื้อในช่องท้องเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เป็นปัญหาหลักในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่พบได้ประมาณ % ในจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดและการติดเชื้อในช่องท้องเป็นสาเหตุหลักของการที่ต้องเอาสายออก (Catheter Removal) การเปลี่ยนวิธีการรักษาเป็นการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม(Hemodialysis)

4 เนื่องจากการสูญเสียคุณสมบัติของเยื่อบุช่องท้อง นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลถึงร้อยละ 50 อีกทั้งเป็นตัวพยากรณ์อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย ทั้งจากการติดเชื้อโดยตรงหรือจากภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่ตามมาภายหลังการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้องเพื่อทราบและติดตาม ประเมินภาวะแทรกซ้อนการเฝ้าระวังและการป้องกันจะสามารถทำให้ทราบและทำให้ผู้ให้บริการสามารถให้การดูแลได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อ เพื่อการพัฒนาและวางแผนในการศึกษาขั้นต่อไป

5 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะของผู้ป่วยที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องโดยเปรียบเทียบลักษณะที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะติดเชื้อเพื่อนำไปปรับวิธีการดูแล ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป

6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
นำไปพัฒนาแนวทางการสอนผู้ป่วย เมื่อเข้าสู่โปรแกรมการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดการติดเชื้อ เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ดี

7 รูปแบบการศึกษา การศึกษาเชิงพรรณนา (Retro) สถานที่
หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลลำพูน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีการติดเชื้อทางช่องท้องจำนวน 24 ราย

8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ใช้การรวบรวมข้อมูลเป็นหลัก แฟ้มประวัติผู้ป่วยที่ทำการล้างไตทางช่องท้อง การซักประวัติ การตรวจร่างกาย ผลชันสูตรทางท้องปฏิบัติการ เช่น Fluid c/s , Fluid exam, H/C , Pus c/s จากแผล Exit site

9 วิธีการเก็บข้อมูล 1.ศึกษาข้อมูลของเชื้อที่พบ

10 Routes Organisms Contamination - At the time of an Exchange
- Due to equipment malfunction S.Epidermidis; S.aureus ;Acinetobacter Catheter related - Tunnel infection - Catheter dialysate leak - Exit site infection S.Epidermidis; S.aureus ;Pseudomonas Proteus; yeast Enteric (through the gut wall) Multiple organism in association with anaerobes and fungi 4. Hematogenous Streptococus;Mycobacterium 5. Gynaecological (through the vagina) Pseudomonas;Yeast Procedue relate - Colonoscopy - Endoscopy - Dental procedure

11 2. แยกประเภทเชื้อของผู้ป่วยแต่ละราย
1. Contamination มีจำนวน 17ราย ร้อยละ70.83 2. Catheter related มีจำนวน 18 ราย ร้อยละ 75.00 3. Entoric มีจำนวน 0 ราย 4. Hematogenous มีจำนวน 1 ราย ร้อยละ 8.3 5. Gynaecological มีจำนวน 0 ราย 6. Procudure relate มีจำนวน 1 ราย ร้อยละ 4.16

12 2. แยกประเภทเชื้อของผู้ป่วยแต่ละราย

13 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
จำนวนร้อยละของผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในช่องท้องแต่ละประเภทต่อจำนวนผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจำนวนทั้งหมด

14 ผลการศึกษา จากผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่มีการ Contamination
กับ Catheter related มีผลเชื้อที่คล้ายกันและอัตราของ การเกิดการติดเชื้อใกล้เคียงกัน

15 ชื่อเรื่อง ผู้รับผิดชอบ วันที่เริ่ม วันที่จบ เครื่องมือที่ใช้
Re- training พยาบาล CAPD 5 กรกฎาคม 2553 5 สิงหาคม 2553 1. ประเมินความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว เช่น อาหาร การทำความสะอาดแผล 1.ให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว เช่น อาหาร การทำความ สะอาดแผล 2.ตรวจสอบเรื่องการล้างมือและเช็ดมืออย่างถูกต้องตาม 2.สอนเทคนิคเรื่องการล้างมือและเช็ดมืออย่างถูกต้องตาม ขั้นตอน 3. การเปลี่ยนถ่ายน้ำยา 3. สอนเรื่องการปฏิบัติตามเทคนิคปลอดเชื้อ

16 ชื่อเรื่อง ผู้รับผิดชอบ วันที่เริ่ม วันที่จบ เครื่องมือที่ใช้
Re- training พยาบาล CAPD 5 กรกฎาคม 2553 5 สิงหาคม 2553 4.การติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไป 4.การติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไปทำต่อที่บ้าน ทำต่อที่บ้านประมาณ 1 เดือน ประมาณ 1เดือนเพื่อประเมินสภาพแวดล้อมบริเวณที่เปลี่ยน น้ำยา รวมถึงร่างกายผู้ป่วยและความพร้อมของผู้ดูแล

17 สรุป หลังจากได้ทำการ Re-training ผู้ป่วยจำนวน 24 รายที่เคยติดเชื้อทางช่องท้องและมีการติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากผู้ป่วยกลับไปทำต่อที่บ้านทำให้พบว่า 100% ผู้ป่วยไม่มีการติดเชื้อซ้ำและไม่มีการกลับมา Admit ที่โรงพยาบาลซ้ำทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น

18 ข้อเสนอแนะ 1.เนื่องจากจำนวนของเจ้าหน้าที่ไตเทียมมีจำนวนน้อยทำให้การดูแลผู้ป่วยไม่ทั่วถึงและไม่พอกับจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2.เนื่องจากการทำ CAPD เป็นการเน้นผู้ป่วยทำที่บ้านทำให้เมื่อกลับไปอยู่ที่บ้านผู้ป่วยอาจละเลย หรือลดระดับการเอาใจใส่เท่าที่ควร

19 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อในช่องท้อง ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลลำพูน หน่วยงานไตเทียม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google