งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)
บท 8 Punya Charusiri

2 การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)
การประเมินปริมาณแร่สำรอง (Reserve Calculation) ภายหลังจากขั้นตอนของการสำรวจข้อมูลต่างจะถูกนำมาประมวลผลเพื่อพิจารณาปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์เพื่อประเมินศักยภาพของเหมืองแร่ว่ามีความคุ้มทุนในการลงทุนหรือไม่ เพียงใด????

3 ขั้นตอนการประเมินปริมาณแร่สำรองเพื่อทำการประเมินศักยภาพเหมืองแร่
ขั้นตอนการประเมินปริมาณแร่สำรองเพื่อทำการประเมินศักยภาพเหมืองแร่

4 ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves)
สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว

5 ตัวอย่างภาพตัดขวางแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างคูหาแร่
Surface trench sites ตัวอย่างภาพตัดขวางแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างคูหาแร่

6 ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองพิสูจน์แล้ว
Surface treanch sites A = Proved Ore (Measured resources) A ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองพิสูจน์แล้ว

7 ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves)
สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 2. ปริมาณแร่สำรองบ่งชี้ ( indicated reserved or probable ores or probable resources) คือ คูหาแร่ที่ปรากฎเพียง 1 หรือ สองด้าน และได้เก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว

8 ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองบ่งชี้
Surface trench sites B B = Probable Ore (Indicated resources) A = Proved Ore (Measured resources) A ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณ แร่ สำรองบ่งชี้

9 ลำดับชั้นของปริมาณสำรอง (classes of ore reserves)
สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ปริมาณแร่ สำรองพิสูจน์แล้ว (proved reserved or measured resources or proved ores) คือ คูหาแร่ (block) ที่ปรากฎให้เห็นทั้ง 4 ด้านคือ ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา และมีการเก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 2. ปริมาณแร่สำรองบ่งชี้ ( indicated reserved or probable ores or probable resources) คือ คูหาแร่ที่ปรากฎเพียง 1 หรือ สองด้าน และได้เก็บตัวอย่างไปหาความสมบูรณ์แล้ว 3. ปริมาณแร่สำรองคาดการณ์ (inferred reserves or possible ores or geologic reserve) คือ คูหารแร่ที่ไม่ได้ปรากฎให้เห็นหรือปรากฎให้เห็นเพียงด้านเดียว แต่นักธรณีวิทยาจะอาศัยประสบการณ์ในการประเมินปริมาณสำรองในลักษณะนี้ได้

10 ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณแร่สำรองคาดการณ์
Surface treanch sites A B C C = Possible Ore (Inferred resources) A = Proved Ore (Measured resources) B = Probable Ore (Indicated resources) ภาพตัดขวางแสดงประเภทปริมาณแร่สำรองคาดการณ์

11 ตัวอย่างการคำนวณหาปริมาณสำรองและความสมบูรณ์เฉลี่ยของแร่ในแต่ละอุโมงค์
สมมติ : ให้อุโมงค์มีความกว้างยาวดังรูป Top View 8 เมตร ORE 8เมตร 5 เมตร 100 เมตร 200 เมตร 7เมตร Perspective View 8 เมตร 5 เมตร 8เมตร 100 เมตร 200 เมตร 7เมตร

12 ความกว้างอุโมงค์ (เมตร) W ความยาวอุโมงค์ (เมตร) L
นำค่ามาบันทึกในตาราง ชนิด ความกว้างอุโมงค์ (เมตร) W ความยาวอุโมงค์ (เมตร) L พื้นที่อุโมงค์ (ตร.ม.) W x L = S % ความสมบูรณ์ของแร่ V ผลลัพธ์ S x V DRIVE 1,600 1,400 500 800 1.8 1.9 1.2 1.3 2,880 2,660 600 1,040 DRIVE RAISE RAISE รวม

13 ดังนั้นปริมาณสำรองในที่นี้จะเท่ากับประมาณ 12,000 ตัน
1. ความกว้างเฉลี่ยของอุโมงค์ 4300/600 = เมตร 2. ความสมบูรณ์เฉลี่ย 7180/4200 = 1.67% 3. ปริมาตรคูหา = Lw = ความยาวด้านกว้างของอุโมงค์ Ld = ความยาวด้านยาวของอุโมงค์ = x100x200 = ลบ.เมตร 4. ปริมาณสำรอง (Tonnage) = ปริมาตร/Tf Tf = Tonnage factor คือจำนวนแร่เป็นลบ.เมตร/ตัน (ให้ Tf = 12 ) = /12 ดังนั้นปริมาณสำรองในที่นี้จะเท่ากับประมาณ 12,000 ตัน

14 ตัวอย่างการคำนวณปริมาณแร่สำรองสำหรับภูมิแร่ขนาดใหญ่รูปร่างไม่แน่นอน
สมมติ : ให้อุโมงค์ที่มีปล่อง (shaft) มีอุโมงค์ตามแร่ (drive) ที่ระดับต่างๆ โดยมีระยะระหว่างระดับ(level interval) 25 เมตร เจาะหลุมในแนวระดับแต่ละหลุมห่างกัน 50 เมตร โดยแต่ละระดับเจาะหลุมไม่เท่ากันดังรูป 25 m. 50 m. N S E W b a c d e ที่แนวระดับ a 50 m. E W 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 L ขอบเขตสายแร่

15 ขั้นตอนการคำนวณหาความสมบูรณ์ของแร่ในแต่ละระดับ
แนวระดับที่ a ความยาวหลุม (เมตร) L หมายเลขหลุม % แร่ ผลลัพธ์ Vx L 1 2 3 4 .. 10 0.47 0.73 0.78 0.56 .. 0.81 .. 45 26 72 55 38 .. 36.45 12.22 52.56 42.90 21.28 N= 10

16 แต่ละหลุมมีพื้นที่รับผิดชอบ = 50 x 50 x L
1. ความยาวเฉลี่ย = = 960/10 = 96 เมตร 2. ความสมบูรณ์เฉลี่ย = = 586/960 = 0.61% แต่ละหลุมมีพื้นที่รับผิดชอบ = 50 x 50 x L 3. ปริมาตรทั้งระดับ(ของระดับที่ a) = x 50 x 50 x 96 = 2,400,000 ลบ.ฟุต 4. ปริมาณสำรองของแร่(ระดับที่ a) = ปริมาตร/Tf ถ้า Tonnage factor =12 = 2,400,000/12 ที่ระดับที่ a มีปริมาณแร่สำรอง = ,000 ตัน คำนวณหาปริมาณสำรองของแร่ในระดับอื่นๆต่อไป

17 ตัวอย่างการคำนวณปริมาณแร่สำรองสำหรับภูมิแร่ขนาดใหญ่รูปร่างไม่แน่นอน
สมมติ : ให้อุโมงค์ที่มีปล่อง (shaft) มีอุโมงค์ตามแร่ (drive) ที่ระดับต่างๆ โดยมีระยะระหว่างระดับ(level interval) 25 เมตร เจาะหลุมในแนวระดับแต่ละหลุมห่างกัน 50 เมตร โดยแต่ละระดับเจาะหลุมไม่เท่ากันดังรูป N S E W b a c d e ที่แนวระดับ a 50 m. E W 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 L 50 m. 25 m. ที่แนวระดับ b W E 50 m. 1 5 3 4 2 9 8 7 6 11 10 L ขอบเขตสายแร่

18 5. คำนวณหาปริมาณสำรองของแร่(ระดับที่ b)
ด้วยวิธีการเดียวกันกับแนวระดับ a 6. ทำการคำนวณเช่นเดียวกันจนกระทำครบทุกแนวระดับ 7. นำค่าปริมาณสำรองจากทุกแนวระดับมาทำการหาผลรวม สรุปได้ว่า ปริมาณแร่สำรองทั้งหมด = ผลรวมของปริมาณสำรองของแต่ละระดับ

19 ตัวอย่างการหาปริมาณสำรองแร่ของเหมืองแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตร
ตัวอย่างการหาปริมาณสำรองแร่ของเหมืองแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีวิธีการประเมินปริมาณแร่สำรองที่ใกล้เคียงกับวิธีการที่ได้นำเสนอมาแต่จะมีความแตกต่างในขั้นรายละเอียดที่ค่อนข้างมากกว่า

20 ภาพการขุด Trench เพื่อนำตัวอย่างไปทำการวิเคราะห์หาแร่ (เหมืองแร่ชาตรี จ.พิจิตร)
แนวความผิดปกติ เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

21 ภาพแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างเพื่อมาทำกาวิเคราะห์ (เหมืองแร่ชาตรี จ
ภาพแสดงการเจาะเก็บตัวอย่างเพื่อมาทำกาวิเคราะห์ (เหมืองแร่ชาตรี จ.พิจิตร) เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

22 ภาพตัดขวางแสดงการเจาะสำรวจเพื่อประเมิณศักยภาพสายแร่
เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา

23 ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ
เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

24 ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ
เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

25 ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ
เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

26 ภาพสามมิติแสดงการประเมินศักยภาพของสายแร่ทองคำ
แหล่งตะวัน แหล่งจันทรา เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา Low Grade of Gold High Grade of Gold Super High Grade of Gold

27 Resources Tonnes Grade Ounces (million) g/t Au (equiv) Au (equiv)
Tawan (CH) ,000 Chantra (D) ,000 Total Resource ,300,000

28 Ore Reserves Tonnes Grade Ounces (million) g/t Au (equiv) Au (equiv)
Tawan ,000 Chantra ,000 Total Reserve ,000

29 ภาพตัวอย่างขั้นตอนการทำการสำรวจหาปริมาณแร่สำรองก่อนการประเมิณหาศักยภาพของแร่

30 Surface trenching at an exploration site
(Australia)

31 Small exploration rig drill hole to correct to core samples ( Middle Geogia, USA )

32 Exploration rig in rugged jungle
(Papua New Guinea)

33 Exploration geologist examining a piece of drill core for magnetic susceptability
(WMC Resources Ltd Western Australia)

34 Exploration geologist prepares sieved stream samples for dispatch

35 Assayer operating a atomic absorption machine (British Columbia, Canada)

36 Sierra Mojada Mining the west of Coahuila, Mexico
*Red Zinc million tonnes 8.22% zinc (4,696 assays with a total length of 6,704 meters) *White Zinc million tonnes 20.52% zinc (667 assays with a total length of 1,080 meters) *Polymetallic million tonnes 0.6% copper (1661 assays with a total length of 3,239 meters) *311 g/t silver *5.5% zinc *2.2% lead Sierra Mojada Mining the west of Coahuila, Mexico

37 เอกสารอ้างอิง - ปัญญา จารุศิริ, 2546, คู่มือการสำรวจแร่ เล่มที่ 2, 740 หน้า - - - - - - - - ภาพประกอบคำบรรยายจากคุณ วีระศักดิ์ ลันวงศา เหมืองแร่ชาตรี จังหวัดพิจิตร

38 THANK YOU for ATTENTION


ดาวน์โหลด ppt การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google