ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYohanes Susanto ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ผู้ปฏิบัติ : ทีมปฏิบัติการหลัก
หน่วยที่ 5 จะพูดถึงภาพรวมบทบาทหน้าที่ของกลุ่มภารกิจปฏิบัติการหลักในระบบบัญชาการเหตุการณ์ ตามโครงสร้างของกรมควบคุมโรค
2
วัตถุประสงค์หน่วย (Unit Objectives)
อธิบายบทบาทและหน้าที่ของทีมปฏิบัติการหลักซึ่งประกอบด้วย : กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations) กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry)
3
โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ผู้บัญชาการ SA& ยุทธศาสตร์ ฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์ ภารกิจ แนวทางการปฏิบัติ การสั่งการ ผู้ปฏิบัติ จากแผนภาพโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ แสดงให้เห็นว่า ส่วนของผู้ปฏิบัติแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ทีมปฏิบัติการหลัก ได้แก่ • กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค(Operation) • กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) • กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) • กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry) 2. ทีมสนับสนุน ได้แก่ กลุ่มภารกิจด้านการสำรองเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านกฎหมาย กลุ่มภารกิจด้านการเงินและงบประมาณ กลุ่มภารกิจด้านการสนับสนุนกำลังคน และกลุ่มภารกิจด้านการประสานงาน ทีมปฏิบัติการหลัก Operation สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE ทีมสนับสนุน Stockpiling | กฎหมาย | การเงินและงบประมาณ | กำลังคน Liaison
4
โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ผู้บัญชาการ SA& ยุทธศาสตร์ ฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์ ภารกิจ แนวทางการปฏิบัติ การสั่งการ ผู้ปฏิบัติ ในหน่วยการเรียนรู้นี้ จะกล่าวถึงเฉพาะทีมปฏิบัติการหลัก ซึ่งได้แก่ • กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค(Operation) • กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) • กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) • กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry) ทีมปฏิบัติการหลัก Operation Operation สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารความเสี่ยง Case Management Case Management PoE PoE ทีมสนับสนุน Stockpiling | กฎหมาย | การเงินและงบประมาณ | กำลังคน Liaison
5
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations)
หน้าที่หลัก: ส่วนกลาง จัดระบบการปฏิบัติการภาคสนามในการ ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เช่น กลุ่มภารกิจ ปฏิบัติการ ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือ และ กระบวนการปฏิบัติงาน (JAS: Job Action Sheet) รวบรวมความรู้ มาตรฐาน มาตรการในการ ปฏิบัติงานภาคสนาม จัดทำรูปแบบการรายงาน จากกลุ่มภารกิจ ปฏิบัติการภาคสนามให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ การประสานงาน (ระบบเชื่อมประสานข้อมูล) กับ กลุ่มภารกิจปฏิบัติงานภาคสนาม กลุ่มภารกิจที่ 1 กลุ่มภารกิจปฏิบัติการ (Operation) มีหน้าที่ทั้งในส่วนกลางและภาคสนาม ซึ่งหน้าที่หลักของกลุ่มภารกิจปฏิบัติการส่วนกลาง คือ 1. กลุ่มภารกิจปฏิบัติการ 2. ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือ และกระบวนการปฏิบัติงาน 3. รวบรวมความรู้ มาตรฐาน มาตรการในการปฏิบัติงานภาคสนาม 4. จัดทำรูปแบบการรายงาน จากกลุ่มภารกิจปฏิบัติการภาคสนามให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ 5. การประสานงาน (ระบบเชื่อมประสานข้อมูล) กับกลุ่มภารกิจปฏิบัติงานภาคสนาม
6
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations)
หน้าที่หลัก: ภาคสนาม กำหนดมาตรการความปลอดภัยของบุคลากร ผู้ปฏิบัติงาน ประเมินขนาด ความรุนแรง การกระจาย ของปัญหา (Rapid Assessment) และสรุปผลแจ้งศูนย์ปฏิบัติการ ผ่าน Situation Awareness ปฏิบัติการควบคุมสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินในพื้นที่ รายงานสถานการณ์ และปัญหาอุปสรรค หรือร้องขอ การสนับสนุนเพิ่มเติมกับศูนย์บัญชาการผ่าน Situation Awareness เป็น Real time รายงานผลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ทราบ ส่วนหน้าที่หลักของกลุ่มภารกิจปฏิบัติการภาคสนาม คือ 1. กำหนดมาตรการความปลอดภัยของบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน 2. ประเมินขนาด ความรุนแรง การกระจาย ของปัญหา (Rapid Assessment) และสรุปผลแจ้งศูนย์ปฏิบัติการผ่าน SA 3. ปฏิบัติการควบคุมสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินในพื้นที่ 4. รายงานสถานการณ์ และปัญหาอุปสรรค หรือร้องขอการสนับสนุนเพิ่มเติมกับศูนย์บัญชาการผ่าน Situation Awareness เป็น Real time 5. รายงานผลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงานให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ทราบ
7
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค : ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces)
Operations ชุดเฉพาะกิจ คือ การรวมกลุ่มของทรัพยากร หลายชนิดที่มีการสื่อสารร่วมกันปฏิบัติงาน ภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าชุดเฉพาะกิจ ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces) Strike teams Single Resource ในกลุ่มภารกิจปฏิบัติการอาจจะประกอบด้วยหน่วยย่อยเพื่อที่จะปฏิบัติภารกิจให้บรรลุวัตุประสงค์ ซึ่งหน่วยย่อยนั้นมีด้วยกัน 3 แบบ คือ 1. ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces) คือ การรวมกลุ่มของทรัพยากรหลายชนิดที่มีการสื่อสารร่วมกันปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าชุดเฉพาะกิจ เช่น ฝ่ายสนับสนุน, หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค, หน่วยค้นหาผู้ประสบภัยและกู้ชีพ, กลุ่มภารกิจวางแผน, กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์ ยกตัวอย่าง : ฝ่ายสนับสนุน หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค หน่วยค้นหาผู้ประสบภัยและกู้ชีพ กลุ่มภารกิจวางแผน กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์
8
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค : ชุดปฏิบัติการ (Strike teams)
Operations ชุดปฏิบัติการ คือ กลุ่มของทรัพยากรที่เป็น แบบและชนิดเดียวกัน ที่มีการสื่อสาร ร่วมกันและปฏิบัติการภายใต้การกำกับดูแล ของหัวหน้าชุดปฏิบัติการ Task Forces ชุดปฏิบัติการ (Strike teams) Single Resource แบบที่ 2 ได้แก่ ชุดปฏิบัติการ (Strike teams) คือ กลุ่มของทรัพยากรที่เป็นแบบและชนิดเดียวกัน ที่มีการสื่อสารร่วมกันและปฏิบัติการภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าชุดปฏิบัติการ เช่น หน่วยสถานการณ์, หน่วยเอกสารและธุรการ ยกตัวอย่าง : หน่วยสถานการณ์ หน่วยเอกสารและธุรการ
9
คำถาม? ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces) กับ ชุดปฏิบัติการ (Strike teams) แตกต่างกันอย่างไร? ให้ซักถามผู้เรียนว่า ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces) กับ ชุดปฏิบัติการ (Strike teams) แตกต่างกันอย่างไร? พร้อมทั้งสุ่มผู้เรียน 2-3 คนให้ลองแสดงความคิดเห็น แล้วเฉลยว่า ชุดเฉพาะกิจ (Task Forces) คือ การรวมกลุ่มภารกิจของทรัพยากรหลายชนิด แต่ชุดปฏิบัติการ (Strike teams) คือ กลุ่มภารกิจของทรัพยากรที่เป็นแบบและชนิดเดียวกัน
10
ทรัพยากรเดี่ยว อาจเป็น บุคคล
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค : ทรัพยากรเดี่ยว (Single Resource) Operations ทรัพยากรเดี่ยว อาจเป็น บุคคล เครื่องมือและบุคลากรที่ควบคุมเครื่องมือนั้น กลุ่มของบุคคลที่มีหัวหน้ากำกับดูแล Task Forces Strike teams ทรัพยากรเดี่ยว (Single Resource) ทรัพยากรเดี่ยว (Single Resource) เราอาจจะเข้าใจผิดว่าเป็นเพียงบุคคลคนเดียวเท่านั้น แต่จริงๆแล้วอาจเป็น บุคคล หรือเครื่องมือและบุคลากรที่ควบคุมเครื่องมือนั้น หรืออาจจะเป็นกลุ่มของบุคคลที่มีหัวหน้ากำกับดูแลก็ได้ เช่น เจ้าหน้าที่ประสานงาน, เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย, รถฉุกเฉิน ยกตัวอย่าง : เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย รถฉุกเฉิน
11
กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations)
คำแนะนำ ให้อภิปรายภายในกลุ่มภารกิจที่กำหนด เพื่อสร้างแผนผังองค์กรสำหรับกลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations) ให้ครอบคลุมหน้าที่หลักของกลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations) ให้เวลาทำกิจกรรม 10 นาที ในการเตรียมและนำเสนอในชั้น ให้ผู้สอนอธิบายกิจกรรมตามคำแนะนำ โดยให้ผู้เรียนอภิปรายภายในกลุ่มภารกิจที่กำหนดเพื่อสร้างแผนผังองค์กรสำหรับกลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations) ให้ครอบคลุมหน้าที่หลักของกลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operations) โดยให้เวลาทำกิจกรรม 10 นาที ในการเตรียมและนำเสนอในชั้น
12
ตัวอย่าง.... Operations ภาคสนาม ส่วนกลาง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
หน่วยสถานการณ์ หน่วยรายงานสถานการณ์และผล เจ้าหน้าที่ประสานงาน ยกตัวอย่าง แผนผังองค์กรสำหรับกลุ่มภารกิจปฏิบัติการส่วนกลาง/ภาคสนาม (Operation ) ส่วนกลาง ประกอบด้วย -หน่วยสถานการณ์ มีหน้าที่ กลุ่มภารกิจปฏิบัติการและรวบรวมความรู้ มาตรฐาน มาตรการในการปฏิบัติงานภาคสนาม -เจ้าหน้าที่ประสานงาน มีหน้าที่ การประสานงาน (ระบบเชื่อมประสานข้อมูล) กับกลุ่มภารกิจปฏิบัติงานภาคสนาม -หน่วยสนับสนุน มีหน้าที่ ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือ และกระบวนการปฏิบัติงาน (JAS: Job Action Sheet) -หน่วยเอกสารและธุรการ มีหน้าที่ จัดทำรูปแบบการรายงาน จากกลุ่มภารกิจปฏิบัติการภาคสนามให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ ภาคสนาม ประกอบด้วย -เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย มีหน้าที่ กำหนดมาตรการความปลอดภัยของบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ประเมินขนาด ความรุนแรง การกระจาย ของปัญหา (Rapid Assessment) และสรุปผลแจ้งศูนย์ปฏิบัติการผ่าน SA -หน่วยรายงานสถานการณ์และผล มีหน้าที่ รายงานสถานการณ์ และปัญหาอุปสรรค หรือร้องขอการสนับสนุนเพิ่มเติมกับศูนย์บัญชาการผ่าน Situation Awareness เป็น Real time รายงานผลการปฏิบัติงานและประเมินผลการปฏิบัติงานให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ทราบ -หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค มีหน้าที่ ปฏิบัติการควบคุมสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินในพื้นที่ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค หน่วยสนับสนุน หน่วยเอกสารและธุรการ
13
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication)
หน้าที่หลัก: เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ ทุกช่องทาง และประเมินการ รับรู้ของสาธารณะ (Public perceptions) เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยง และจัดทำแผนการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสมและรวดเร็ว เฝ้าระวังข่าวลือ จากช่องทางต่างๆ และตอบโต้อย่างเหมาะสม และ รวดเร็ว จัดทำข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) ที่ถูกต้องแม่นยำ และครบถ้วน เหมาะกับ สถานการณ์และกลุ่มภารกิจเป้าหมาย ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อ เพื่อ เผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม กลุ่มภารกิจที่ 2 ในกลุ่มภารกิจผู้ปฏิบัติการหลัก ได้แก่ สำหรับกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง หรือ Risk Communication ซึ่ง มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ (Public perceptions) เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทำแผนการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสมและรวดเร็ว เฝ้าระวังข่าวลือ จากช่องทางต่างๆ และตอบโต้อย่างเหมาะสม และรวดเร็ว จัดทำข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) ที่ถูกต้องแม่นยำ และครบถ้วน เหมาะกับสถานการณ์และกลุ่มภารกิจเป้าหมาย ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อ เพื่อเผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม
14
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) (ต่อ)
หน้าที่หลัก: ประสานกับกลุ่มภารกิจงานย่อย เพื่อจัดการและ Update ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารความเสี่ยง จัดทำทำเนียบผู้บริหาร โฆษก และวิทยากร เพื่อแถลงข่าว ให้ข่าวสื่อมวลชน และให้ความรู้ประชาชน และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกกระทรวง สาธารณสุข เพื่อดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยงต่อ ผู้บัญชาการเหตุการณ์ หน้าที่หลัก (ต่อ) ประสานกับกลุ่มภารกิจงานย่อย เพื่อจัดการและ Update ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารความเสี่ยง จัดทำทำเนียบผู้บริหาร โฆษก และวิทยากร เพื่อแถลงข่าว ให้ข่าวสื่อมวลชน และให้ความรู้ประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยงต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์
15
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
ตัวอย่าง.... กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน ต่อไปนนี้นี่คือหน่วยย่อยของกลุ่มภารกิจนี้... กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง มีหน่วยย่อยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2.หน่วยสื่อสารมวลชน 3.หน่วยประสานงาน 4.หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล
16
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
หน่วยคัดแยกข่าวสาร กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน หน้าที่ เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ ทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ (Public perceptions) เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทำแผนการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสมและรวดเร็ว เฝ้าระวังข่าวลือ จากช่องทางต่างๆ และตอบโต้อย่างเหมาะสม และรวดเร็ว หน่วยคัดแยกข่าวสาร มีหน้าที่ เฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ (Public perceptions) เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทำแผนการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสมและรวดเร็ว เฝ้าระวังข่าวลือ จากช่องทางต่างๆ และตอบโต้อย่างเหมาะสม และรวดเร็ว
17
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
หน่วยสื่อสารมวลชน กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน หน้าที่ จัดทำข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) ที่ถูกต้องแม่นยำ และครบถ้วน เหมาะกับสถานการณ์และกลุ่มภารกิจเป้าหมาย ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อ เพื่อเผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม หน่วยสื่อสารมวลชน มีหน้าที่ จัดทำข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) ที่ถูกต้องแม่นยำ และครบถ้วน เหมาะกับสถานการณ์และกลุ่มภารกิจเป้าหมาย ดำเนินการสื่อสารความเสี่ยงผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อ เพื่อเผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม
18
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
หน่วยประสานงาน กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน หน้าที่ ประสานกับกลุ่มภารกิจงานย่อย เพื่อจัดการและ Update ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารความเสี่ยง ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง หน่วยประสานงาน มีหน้าที่ ประสานกับกลุ่มภารกิจงานย่อย เพื่อจัดการและ Update ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารความเสี่ยง ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อดำเนินการสื่อสารความเสี่ยง
19
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
หน่วยเอกสาร กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน หน้าที่ จัดทำทำเนียบผู้บริหาร โฆษก และวิทยากร เพื่อแถลงข่าว ให้ข่าวสื่อมวลชน และให้ความรู้ประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยเอกสาร มีหน้าที่ จัดทำทำเนียบผู้บริหาร โฆษก และวิทยากร เพื่อแถลงข่าว ให้ข่าวสื่อมวลชน และให้ความรู้ประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
20
กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
หน่วยประเมินผล กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 3.หน่วยประสานงาน 4. หน่วยเอกสาร 5.หน่วยประเมินผล 1.หน่วยคัดแยกข่าวสาร 2. หน่วยสื่อสารมวลชน หน้าที่ ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยงต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์ หน่วยประเมินผล มีหน้าที่ ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยงต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์
21
กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management)
หน้าที่หลัก: จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยตลอดจนแนวทางในการ ป้องกันการติดเชื้อ ประสานกับห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุขเพื่อจัดทำแนวทางการส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม ประสานและ/หรือจัดเตรียมสถานที่สำหรับการ คัดกรอง แยกกัก รักษา ผู้ป่วย จัดกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic case) และ ฝึกซ้อมกลุ่มภารกิจเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานการป้องกัน การติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม จัดกลุ่มภารกิจผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาด้านการแพทย์และการ ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแก่สถานพยาบาลที่รับดูแล รักษาผู้ป่วย กลุ่มภารกิจที่ 3 ในผู้ปฏิบัติการหลัก ได้แก่ กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management ) ซึ่งมีหน้าที่ จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยตลอดจนแนวทางในการป้องกันการติดเชื้อ ประสานกับห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุขเพื่อจัดทำแนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม ประสานและ/หรือจัดเตรียมสถานที่สำหรับการ คัดกรอง แยกกัก รักษาผู้ป่วย จัดกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic case) และฝึกซ้อมกลุ่มภารกิจเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม จัดกลุ่มภารกิจผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาด้านการแพทย์และการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแก่สถานพยาบาลที่รับดูแลรักษาผู้ป่วย
22
ตัวอย่าง.... กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management)
3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างหน่วยย่อยของกลุ่มภารกิจนี้ กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management ) ประกอบด้วยหน่วยย่อย ดังนี้ 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC)
23
หน่วย SOP กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) หน้าที่ - จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยตลอดจนแนวทางในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล หน่วยที่ 1 หน่วย SOP มีหน้าที่ - จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยตลอดจนแนวทางในการป้องกันการติดเชื้อ ในโรงพยาบาล หมายเหตุ : มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure; SOP) หมายถึง ระเบียบมาตรฐานวิธีปฏิบัติงาน ที่แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยละเอียด เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
24
หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB)
กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) หน้าที่ ประสานกับห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข จัดทำแนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม หน่วยที่ 2 หน่วย Lab มีหน้าที่ ประสานกับห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข จัดทำแนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม
25
หน่วยแยกกักโรค (Quarantine)
กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management ) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) หน้าที่ - ประสานและ/หรือจัดเตรียมสถานที่สำหรับการ คัดกรอง แยกกัก รักษาผู้ป่วย หน่วยที่ 3 หน่วย Quarantine มีหน้าที่ - ประสานและ/หรือจัดเตรียมสถานที่สำหรับการ คัดกรอง แยกกัก รักษาผู้ป่วย
26
หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care)
กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management ) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) หน้าที่ จัดกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic case) ฝึกซ้อมกลุ่มภารกิจเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม หน่วยที่ 4 หน่วย Medical care มีหน้าที่ จัดกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic case) ฝึกซ้อมกลุ่มภารกิจเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม
27
หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC)
กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) 3.หน่วยแยกกักโรค (Quarantine) 4. หน่วยดูแลรักษาทางการแพทย์ (Medical care) 5.หน่วยควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC) 1.หน่วย SOP 2. หน่วยห้องปฎิบัติการ (LAB) หน้าที่ - จัดกลุ่มภารกิจผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาด้านการแพทย์และการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแก่สถานพยาบาลที่รับดูแลรักษาผู้ป่วย หน่วยที่ 5 หน่วย IC มีหน้าที่ - จัดกลุ่มภารกิจผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาด้านการแพทย์และการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแก่สถานพยาบาลที่รับดูแลรักษาผู้ป่วย
28
กิจกรรม: กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management)
คำแนะนำ: ให้อภิปรายภายในกลุ่มที่กำหนด ให้ผู้เข้ารับการอบรมทบทวนบทบาทหน้าที่ของกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) ให้เวลาทำกิจกรรม 5 นาที ในการเตรียมและนำเสนอในชั้น ให้ผู้สอนอธิบายกิจกรรมตามคำแนะนำ โดยให้ผู้เรียนอภิปรายภายในกลุ่มภารกิจที่กำหนดเพื่อทบทวนบทบาทหน้าที่ของกลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management ) โดยให้เวลาทำกิจกรรม 5 นาที ในการเตรียมและนำเสนอในชั้น
29
กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry)
หน้าที่หลัก: ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจากพื้นที่เสี่ยง สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศแก่เจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานใน ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมกำกับให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตามมาตรฐาน คู่มือพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่าง ประเทศ IHR 2005 จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูลให้ SAT กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry) มีหน้าที่หลัก ดังนี้ ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจากพื้นที่เสี่ยง สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศแก่เจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน ควบคุมกำกับให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตามมาตรฐานคู่มือพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ IHR 2005 จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูลให้ SAT
30
กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry)
โครงสร้าง กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) หน่วยคัดกรอง(Screening) หน่วยเตรียมการ(Preparing) หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน่วยฐานข้อมูล(Database) โครงสร้าง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ Screening (หน่วยคัดกรอง) Preparing (หน่วยเตรียมการ) Monitoring (หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR) Database (หน่วยฐานข้อมูล)
31
หน่วยคัดกรอง (Screening)
หน้าที่ ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจาก - พื้นที่เสี่ยง - ผู้เดินทางขาเข้า (Measures on arrival) - ผู้เดินทางก่อนเดินทางขาออก (Measures on pre-departure /exit screening ) - ผู้เดินทางต้องสงสัย การกักกันผู้เดินทางต้องสงสัย การรวบรวมข้อมูลเพื่อส่งต่อให้กลุ่ม ภารกิจติดตามผู้เดินทางสงสัยสัมผัสโรค (Contact tracing) หน่วยคัดกรอง (Screening) กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) หน่วยคัดกรอง(Screening) หน่วยเตรียมการ(Preparing) หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน่วยฐานข้อมูล(Database) หน่วยคัดกรอง (Screening) มีหน้าที่ ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจาก - พื้นที่เสี่ยง - ผู้เดินทางขาเข้า (Measures on arrival) - ผู้เดินทางก่อนเดินทางขาออก (Measures on pre-departure /exit screening ) - ผู้เดินทางต้องสงสัย การกักกันผู้เดินทางต้องสงสัย การรวบรวมข้อมูลเพื่อส่งต่อให้กลุ่มภารกิจติดตามผู้เดินทางสงสัยสัมผัสโรค (Contact tracing)
32
หน่วยเตรียมการ (Preparing)
หน้าที่ สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศ แก่เจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานใน ภาวะฉุกเฉิน มีแผนแก้ไขภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (Public Health Emergency Contingency Plan) รวมทั้งแต่งตั้งผู้ ประสานงาน (coordinator) ที่ช่องทางเข้าออกประเทศที่ จำเป็นต้องมี และแต่งตั้งจุดติดต่อ (contact points) ใน หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่นๆ และหน่วยบริการ ต่างๆ จัดให้มีความพร้อมเพื่อให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์ ซึ่งประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกในการตรวจ วินิจฉัยที่มีความพร้อม ในการประเมินและให้การดูแล รักษา ผู้เดินทางที่เจ็บป่วย และมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งวัสดุ ครุภัณฑ์ และสถานที่ปฏิบัติงาน อย่าง เพียงพอ หน่วยเตรียมการ (Preparing) กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) หน่วยคัดกรอง(Screening) หน่วยเตรียมการ(Preparing) หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน่วยฐานข้อมูล(Database) หน่วยเตรียมการ (Preparing) หน้าที่ - สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ แก่เจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน - มีแผนแก้ไขภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (Public Health Emergency Contingency Plan) รวมทั้งแต่งตั้งผู้ประสานงาน (coordinator) ที่ช่องทางเข้าออกประเทศที่จำเป็นต้องมี และแต่งตั้งจุดติดต่อ (contact points) ในหน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่นๆ และหน่วยบริการต่างๆ - จัดให้มีความพร้อมเพื่อให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์ซึ่งประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกในการตรวจวินิจฉัยที่มีความพร้อม ในการประเมินและให้การดูแลรักษา ผู้เดินทางที่เจ็บป่วย และมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งวัสดุ ครุภัณฑ์ และสถานที่ปฏิบัติงาน อย่างเพียงพอ
33
หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring )
กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) หน่วยคัดกรอง(Screening) หน่วยเตรียมการ(Preparing) หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน่วยฐานข้อมูล(Database) หน้าที่ ควบคุมกำกับให้มีการ ดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตาม มาตรฐานคู่มือพัฒนา สมรรถนะหลักช่อง ทางเข้าออกระหว่าง ประเทศ IHR 2005 หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน้าที่ ควบคุมกำกับให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตามมาตรฐานคู่มือพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ IHR 2005
34
หน่วยฐานข้อมูล (Database )
กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (Point of Entry) หน่วยคัดกรอง(Screening) หน่วยเตรียมการ(Preparing) หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) หน่วยฐานข้อมูล(Database) หน้าที่ จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทาง และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูล ให้ SAT หน่วยฐานข้อมูล (Database) หน้าที่ จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูลให้ SAT
35
กิจกรรมทบทวน หน่วย หน้าที่ หน่วยคัดกรอง (Screening)
กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยคัดกรอง หน่วยเตรียมการ หน่วยควบคุม กำกับตามมาตรฐาน IHR และหน่วยฐานข้อมูล หน่วย หน้าที่ หน่วยคัดกรอง (Screening) ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจากพื้นที่เสี่ยง หน่วยเตรียมการ (Preparing) สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศแก่เจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (IHR Monitoring) ควบคุมกำกับให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR 2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตามมาตรฐานคู่มือพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ IHR 2005 หน่วยฐานข้อมูล (Database) จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูลให้ SAT กิจกรรมทบทวน ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยคัดกรอง หน่วยเตรียมการหน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR และหน่วยฐานข้อมูล โดยมีหน้าที่ของแต่ละหน่วย ดังนี้ หน่วยคัดกรอง(Screening ) หน้าที่ ตรวจคัดกรองผู้เดินทางที่มาจากพื้นที่เสี่ยง หน่วยเตรียมการ (Preparing ) หน้าที่ สาธิตฝึกปฏิบัติการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศแก่เจ้าหน้าที่ร่วม ปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน หน่วยควบคุมกำกับตามมาตรฐาน IHR (Monitoring ) หน้าที่ ควบคุมกำกับให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน IHR 2005 Point of Entry (ภาวะฉุกเฉิน) ตามมาตรฐานคู่มือพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ IHR 2005 หน่วยฐานข้อมูล (Database ) หน้าที่ จัดทำฐานข้อมูลผู้เดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ และส่งต่อข้อมูลให้ SAT
36
ตัวอย่าง: หน่วยงานที่รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มภารกิจ ในทีมปฏิบัติการหลัก (ส่วนกลาง)
ผู้ปฏิบัติ: กลุ่มภารกิจ ในทีมปฏิบัติการหลัก ผู้รับผิดชอบหลัก Operation สำนักระบาดวิทยา Risk Communication สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ Case Management สถาบันบำราศนราดูร Point of Entry สำนักโรคติดต่อทั่วไป หน่วยงานที่รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มภารกิจในทีมปฏิบัติการหลัก ดังนี้ ผู้ปฏิบัติ: กลุ่มภารกิจปฏิบัติการหลัก ผู้รับผิดชอบหลัก Operation มีผู้รับผิดชอบหลักคือ สำนักระบาดวิทยา Risk Communication มีผู้รับผิดชอบหลักคือ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ Case Management มีผู้รับผิดชอบหลักคือ สถาบันบำราศนราดูร Point of Entry มีผู้รับผิดชอบหลักคือ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
37
สรุป (Summary) ท่านสามารถอธิบายบทบาทและหน้าที่ของกลุ่มภารกิจต่อไปนี้ได้หรือไม่ กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operation) กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry) ท่านสามารถอธิบายบทบาทและหน้าที่ของกลุ่มภารกิจต่อไปนี้ได้หรือไม่ กลุ่มภารกิจปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค (Operation) กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) กลุ่มภารกิจดูแลรักษาผู้ป่วย (Case Management) กลุ่มภารกิจด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ (Point of Entry)
38
คำถามและข้อคิดเห็น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.