งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
แนวทาง การจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ โดย พลตรี ณัฐพงษ์ เพราแก้ว

2 หัวข้อการบรรยาย ๑. การจัดทำยุทธศาสตร์ ๒. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

3 หัวข้อการบรรยาย ๑. การจัดทำยุทธศาสตร์ ๒. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

4 ยุทธศาสตร์ ENDs WAYs MEANs

5 ยุทธศาสตร์ ENDs WAYs MEANs

6

7 ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 3R x 8C
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในคราวประชุมนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู 3R x 8C อยากรู้อยากเห็น มีเหตุผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ Reading ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อยากลองสิ่งใหม่ Writing รู้จักปรับตัว ทักษะการสื่อสาร เรียนรู้ด้วยตนเอง Arithmetic มีความสามารถในการพัฒนา Partnership for 21st century learning ศ.นพ.วิจารณ์ พาณิช ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รมว.ศธ ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ความมีเมตตากรุณา (Compassion) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ)

8 พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ
“มาตรา 7 ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผนดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญา ของท้องถิ่นสร้างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษา การใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางสังคม ปรับปรุง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู”

9 ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ กศ.ชาติ ยุทธศาสตร์ มรภ.
การจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ มรภ. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ การผลิตและพัฒนาครู การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพการศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาระบบบริหาร การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบริหารจัดการศึกษา

10

11

12

13

14

15 เป้าหมายคุณภาพการศึกษา
ปัจจุบัน ปีที่ 1-5 6-10 ปีที่ ยุทธศาสตร์/ ผู้รับผิดชอบ สัดส่วนงานวิจัย Basic: Thailand ๔.๐ ๕๐% สัดส่วนงานบริการวิชาการ: งานพื้นฐาน ๒๐% ร้อยละของบัณฑิตที่ผ่าน Exit Exam ในคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕ ร้อยละของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาแล้วมีงานทำภายใน ๑ ปี 100% ระดับ ม. ต้น ACCESS กำหนดเป้าหมายการพัฒนาเป็นรายช่วงปี ที่มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน

16 ยุทธศาสตร์ MEANs WAYs ENDs How to

17 WAYs SWOT Analysis TOWS Matrix LOG Frame
Balanced Scorecard Strategy Map แผนปฏิบัติราชการ (ข้อกำหนดตามกฎหมายว่าด้วยการหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี)

18 ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
การพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาระบบริหารจัดการ การผลิตและพัฒนาครู การยกระดับคุณภาพการศึกษา

19 บริบทภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน
1. บุคลากรมีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ที่หลากหลาย 1.ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ยังมีสัดส่วนที่ต่ำ 2. การผลิตบัณฑิตครูมีศักยภาพสูง 2.นักศึกษาส่วนใหญ่ทักษะภาษาอังกฤษค่อนข้างต่ำ 3. มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งรวบรวมฐานข้อมูลชุมชน 3.ลักษณะทางภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยที่ไม่ดึงดูดนักศึกษา 4. มหาวิทยาลัยมีสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนครบครัน 4.สื่อการเรียนการสอนยังไม่ทันสมัย 5. มีระบบและกลไกในการทำงานร่วมกับท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม 5. หลักสูตรของมหาวิทยาลัยบางหลักสูตร ยังไม่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น

20 บริบทภายนอก โอกาส อุปสรรค 1.เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งเดียวในอุตรดิตถ์
1.ค่านิยมของนักศึกษาในการเลือกเรียนในมหาวิทยาลัยที่อยู่ในจังหวัดใหญ่ๆ 2.มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากท้องถิ่น/จังหวัด สูง 2.คู่แข่งขันทางการศึกษามีจำนวนมาก 3.รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร/อัตราการเกิดลดลง/ผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น 4.แนวโน้มเศรษฐกิจและความต้องการแรงงานในประชาคมอาเซียนสูง 4.สถานการณ์การเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศทำให้เกิดการแข่งขัน แย่งงานระหว่างแรงงานในประเทศกับแรงงานจากต่างประเทศสูงขึ้น

21 เค้าโครงเอกสารแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ ๑. บทนำ สภาพปัจจุบัน ผลงานที่ประสบความสำเร็จ ทิศทางของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ผลผลิต รายละเอียดของแผนงาน งาน/โครงการ ชื่อ งาน/โครงการ แผนงาน สนองผลผลิตหลักที่ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ หลักการและเหตุผล ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรมและการดำเนินการ งบประมาณที่ใช้ การวัดและประเมินผล

22 ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๒๕๕๘)

23 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ ๒ :การผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตร์ ๓ : การยกระดับคุณภาพการศึกษา ประสิทธิผล คุณภาพการบริการ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การพัฒนาองค์กร ชุมชนท้องถิ่นมีองค์ความรู้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถแก้ปัญหาของตนเองได้ นักศึกษา ครู บุตลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่ได้มาตรฐานวิชาชีพและมีจิตวิญญาณความเป็นครู Smart University ๒๐ ๑๘ ๑๙ อัตราการย้ายถิ่นฐานลดลง จำนวนผู้ได้รับการศึกษาและเรียนต่อระดับอุดมศึกษาในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลงและการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนได้มากขึ้น นักศึกษา บัณทิต ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นพลเมืองที่ดี ๑๖ ๑๗ รายได้ต่อครัวเรือนในชุมชนท้องถิ่นเพิ่มขึ้น นำองค์ความรู้/นวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นมากขึ้น ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ประชาชนในท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายได้รับประโยชน์จากองค์ความรู้และงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งในมิติของเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผลิตบัณฑิตครูที่มีคุณภาพ และบัณฑิตในสาขาวิชาอื่นตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ ผลิตบัณฑิตให้มีทัศนคติที่ดี รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสาในการพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกับองค์กรของไทยและนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑๒ ๑๑ ๑๓ พัฒนาระบบการติดตามสถานการณ์และประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และทุกระดับ ในการถ่ายทอดและบริหารจัดการองค์ความรู้สำหรับพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่นำไปสู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและจังหวัดอย่างยั่งยืน มีระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลและสามารถอยู่ได้อย่างพอเพียง มีการจัดการศึกษาเป็นเลิศ เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาท้องถิ่นที่ได้รับการยอมรับจากอาเซียน ๑๐ พัฒนาระบบบริหารราชการและบริหารงบประมาณ พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและระบบการบริหารงานบุคคล จัดหาเครื่องมือและสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบให้ทันสมัย พัฒนาองค์ความรู้และการจัดการจากงานวิจัย พัฒนาเครือข่าย การสื่อสาร และระบบฐานข้อมูล

24

25 ยุทธศาสตร์ MEANs WAYs ENDs

26 การทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม
MEANs Means MAN MONEY MATERIAL MANAGEMENT การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม

27 ยุทธศาสตร์ ENDs WAYs MEANs

28 หัวข้อการบรรยาย ๑. การจัดทำยุทธศาสตร์ ๒. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

29 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

30 ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ส่วนกลาง ภายในราชภัฏ ระดับพื้นที่ สำนักงบประมาณ ทปอ. ภาครัฐในจังหวัด สภามหาวิทยาลัย ภาคเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ รมว.ศธ. ภาคประชาสังคม ผู้บริหารมหาวิทยาลัย สกอ. คณะ/ภาควิชา ชุมชน อาจารย์/เจ้าหน้าที่ นักศึกษา

31 มิติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ระยะ 20 ปี หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับจังหวัด มหาวิทยาลัยราชภัฏ ห้องเรียน/ชุมชน

32 มิติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ชั้นที่ ๑ หน่วยงานส่วนกลาง -กำหนดแผนการศึกษาแห่งชาติ (๒๐ ปี) กำหนดแผนยุทธศาสตร์กระทรวง (๕ปี) จัดทำแผนปฏิบัติราชการระยะ ๔ ปี และ ระยะ ๑ ปี มาตรฐาน หลักสูตร สื่อ การกำกับ ติดตาม ประกันคุณภาพ บริหารงานบุคคล (กำหนดกฎ เกณฑ์ กรอบอัตรากำลัง) กฎ ระเบียบ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ บริหารทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ เท่าเทียม มาตรฐานวิชาชีพเฉพาะ ICT เพื่อการศึกษา หน่วยงานรับผิดชอบ องค์กรหลัก และองค์กรในกำกับ ศธ. กศน. กคศ. สช. กคศ. สกสค. ทปอ. สภา ฯ อธก. หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานระดับจังหวัด มหาวิทยาลัยราชภัฏ ห้องเรียน/ชุมชน ยุทธศาสตร์ ชั้นที่ ๒ จังหวัด (ราชภัฏเข้าไปมีส่วนร่วม) - ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด - การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด - แผนพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ในจังหวัด - ประสานราชภัฏนำองค์ความรู้/นวตกรรมเข้าสู่กระบวนการพัฒนาจังหวัด ตามแผนพัฒนาจังหวัด ผวจ. ส่วนราชการต่างๆ ในจังหวัด ภาคีเครือข่าย อธก./คณบดี ยุทธการ ชั้นที่ ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏ - จัดทำแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย - Re-profile การรับนักศึกษา - จัดทำฐานข้อมูล - ธรรมาภิบาล - การประชาสัมพันธ์ - การปรับระบบการบริหารงาน - ปรับกฎ ระเบียบ - การบริหารงบประมาณ สถา มหาวิทยาลัย ทปอ. อธิการบดี คณบดี อาจารย์ ฯลฯ ---ยุทธวิธี--- ชั้นที่ ๔ ห้องเรียน/ชุมชน - สอนให้สามารถประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้จริง - วางแผนแก้ปัญหาของตนเองท้องถิ่น/ชุมชน คณบดี อธิการบดี อาจารย์ ชุมชน

33 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

34 โครงสร้างเดิม รร.สังกัดอปท. รร.สังกัดกทม. รร.สังกัดตชด. สภาอุตสาหกรรม
ภาค ประชาสังคม รร.สังกัดอปท. รร.สังกัดกทม. รร.สังกัดตชด.

35 โครงสร้างใหม่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนกลาง
สำนักงานรัฐมนตรี องค์การมหาชน คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ ศธ. ในภูมิภาค หน่วยงานในกำกับ ส่วนกลาง สำนักปลัด สกศ. สพฐ. สอศ. สกอ. ก.ค.ศ. สช. กศน. รัฐ เอกชน รัฐ เอกชน สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑-๑๘ (ศธภ.) (๑๘ แห่ง) ภาค คณะกรรมการการศึกษาจังหวัด (กศจ.) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) (๗๗ จังหวัด) รร.สังกัดอปท. สภาอุตสาห-กรรม ภาค ประชาสังคม สพป. ๑๘๓ เขต สพม. ๔๒ เขต รร.สังกัดตชด. จังหวัด รร.สังกัดกทม. สถานศึกษา ปฐมวัย สถานศึกษาประถมศึกษา สถานศึกษา มัธยมศึกษา สถานศึกษา กศน. สถานศึกษา อาชีวศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา การศึกษาพิเศษ สถานศึกษา เอกชน อุดมศึกษา ผู้เรียน ผู้เรียน ผู้เรียน ผู้เรียน ผู้เรียน ผู้เรียน

36 สถาบันอุดมศึกษา ลงไปช่วยพัฒนาสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในพื้นที่
การใช้เครือข่ายอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง คุณภาพ 10,947 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ สถาบันอุดมศึกษา ลงไปช่วยพัฒนาสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในพื้นที่ * ทุกมหาวิทยาลัยต้องเป็นพี่เลี้ยงให้โรงเรียน

37 2. ให้ความเร่งด่วนในสาขาที่ขาดแคลน 3. จบแล้วไปเป็นครูตามภูมิลำเนา
การแก้ข้อกล่าวหา “ครูไม่เก่ง” ครม.อนุมัติหลักการ ๑๐ ปี อนุมัติงบประมาณ ๒ ปี โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ปี ๒๕๕๙ จำนวน ๔,๐๙๗ อัตรา ปี ๒๕๖๐ จำนวน ๕,๑๐๐ อัตรา ปัญหา 1. คนเก่งไม่นิยมเป็นครู 2. ขาดแคลนครูในสาขาเฉพาะ 3. ขาดแคลนครูในบางพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่ห่างไกลชายขอบ ทุรกันดาร 1. นำคนเก่งมาเป็นครู 2. ให้ความเร่งด่วนในสาขาที่ขาดแคลน 3. จบแล้วไปเป็นครูตามภูมิลำเนา หลักการ

38 วิธีการ คัดเลือกนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00
ศึกษาระดับปริญญาตรี - หลักสูตรครู 5 ปี ในคณะ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์อุตสาหกรรม - นศ.ที่จบสายวิชาชีพ แล้วต่อ ป.บัณฑิต ในสาขาวิชาขาดแคลน คือ สาชาช่าง วิชาชีพ ต่างๆ เช่น ช่างยนต์ ช่างเครื่องกลโรงงาน เกษตรกรรม การประมง เป็นต้นสาขาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เช่น โยธา ไฟฟ้า อุตสาหการ สาขา คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน เป็นต้น) ร้อยละ 95 ไม่ให้ทุน กู้ กยศ.ได้ 100 ร้อยละ 5 ให้ทุนเด็กชายขอบ บรรจุทดแทนอัตราครูเกษียณในภูมิลำเนาเดิม

39 เงื่อนไข จบการศึกษาแล้ว บรรจุในภูมิลำเนาเดิม (มีชื่อในทะเบียนบ้าน 2 ปี ตามกฎหมายเลือกตั้ง กรณีรับทุน ป.ตรี(เด็กชายขอบ) หากผู้รับทุนขอลาออกจากการเป็น นศ. หรือไม่ยอมเข้ารับราชการ ต้องชดใช้ทุนทั้งหมดพร้อมเบี้ยปรับอีก 1 เท่า กรณีไม่ได้รับทุน ป.ตรี หากขอลาออกจาก นศ. หรือไม่ยอมเข้ารับราชการ ต้องชดใช้เงิน 200,000 บาท บรรจุเป็นครูเป็นระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 5 ปี จึงจะมีสิทธิ์ขอย้าย รับราชการแล้ว 3 ปี จึงสามารถสอบชิงทุน ป.โทต่างประเทศ 50 ทุน และทุน ป.โท ในประเทศ 50 ทุน (10 รุ่น ทุนปี 62-71) กรณี ทุน ป.โท ในประเทศ มีข้อผูกพัน ต้องปฏิบัติงานเป็นเวลา 1 เท่าของเวลารับทุน (2ปี) หากไม่ปฏิบัติงาน ต้องชดใช้ทุนทั้งหมดพร้อมเบี้ยปรับอีก 1 เท่า กรณี ทุน ป.โท ต่างประเทศ มีข้อผูกพัน ต้องปฏิบัติงานเป็นเวลา 2 เท่าของเวลารับทุน (4ปี) หากไม่ปฏิบัติงาน ต้องชดใช้ทุนทั้งหมดพร้อมเบี้ยปรับอีก 1 เท่า กรณีกู้ กยส. ต้องทำสัญญายินยอมให้หักเงินเดือนล่วงหน้า

40 จำนวนครูเกษียณอายุ 223,301 คน
การวางแผนครูล่วงหน้า 10 ปี จำนวนครูเกษียณอายุราชการ จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอนที่ครบเกษียณอายุใน 10 ปี พ.ศ จำนวนครูเกษียณอายุ 223,301 คน แต่ผลิตปีละประมาณ 60,000 คน/ปี

41 ความต้องการครู สพฐ. แยกตามสาขาวิชา
ความต้องการครูที่จะทดแทนอัตราเกษียณอายุราชการในอีก 6 ปีข้างหน้า ตั้งแต่ปี ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แยกตามสาขาวิชา ความต้องการครู 109,245 คน

42 ความต้องการครู สอศ. แยกตามสาขาวิชา
ความต้องการครูที่จะทดแทนอัตราเกษียณอายุราชการในอีก 6 ปีข้างหน้า ตั้งแต่ปี ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แยกตามสาขาวิชา ความต้องการครู 1,831 คน

43 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

44 งป.จากแผนพัฒนาจังหวัด งป.จากภาครัฐ/กระทรวงอื่นๆ
งป.จากภาคเอกชน งป.จากแผนพัฒนาจังหวัด งป.จากสำนักงบประมาณ งป.จากภาครัฐ/กระทรวงอื่นๆ งป.จากมหาวิทยาลัย งป.อื่นๆ แผนงาน/โครงการ แผนงาน/โครงการ แผนงาน/โครงการ

45 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

46

47 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

48 1 ความเร่งด่วน ? สมุทัย มรรค ทุกข์ นิโรธ
ปฏิรูปหลักสูตร(สพฐ.อาชีวศึกษา) ความเร่งด่วน ? เด็กเครียด/ไม่มีความสุขกับการเรียน เนื้อหาสาระเยอะ/ซ้ำซ้อน ปรับหลักสูตร กศ.ขั้นพื้นฐาน ตั้งกรมวิชาการ ค.ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน เด็กเรียนเยอะ ขาดการปรับปรุง DLTV ผลสัมฤทธิ์ต่ำ บริบทการพัฒนาเปลี่ยนแปลง/ขาดการปลูกฝังค่านิยม จิตสำนึกที่ดีงาม ปลูกฝังเรื่องคุณธรรมจริยธรรม สร้างค่านิยม จิตสาธารณะ โรงเรียนคุณธรรม เนื้อหาไม่สอดคล้องกับบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลง โครงการธนาคารขยะ ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 1 โรงเรียน/ห้องเรียนกีฬา การเรียนรู้ไม่เน้นการฝึกคิดวิเคราะห์ พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการ การเรียนรู้ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในสถานศึกษา ไม่สร้างทักษะในการแสวงหาความรู้ จัดการศึกษาปฐมวัย สร้างการเรียนรู้ตั้งแต่ปฐมวัย นักเรียนนักศึกษา ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ STEM Education เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ เพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์และใช้กระบวนการตัดสินใจ ใช้กระบวนการ BBL หลักสูตร/สื่อ/ ครูด้านภาษาอังกฤษขาดการพัฒนา สื่อสร้างความตระหนัก ยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลักสูตร/ครู/สื่อภาษาอังกฤษ Training for trainers/Boot camp ระบบการศึกษาต่อในแต่ละระดับ ทำมาตรฐานภาษาอังกฤษในแต่ละช่วงชั้น สามารถเลื่อนชั้นได้ ทั้งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ สร้างระบบการส่งต่อ/คัดเลือกที่มีประสิทธิภาพ ประเมินภาษาอังกฤษ นศ. ก่อนจบ กศ. ระบบการสอบคัดเลือกเข้าสถาบันอุดมศึกษาที่สร้างความเหลื่อมล้ำ ปรับระบบAdmission พัฒนาระบบการทดสอบ วัด ประเมิน และเทียบโอน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน การประเมินผ่านหรือซ้ำชั้นในชั้น ป.3 ป.6 และ ม.3 =โครงการที่กำลังผลักดันให้เกิดขึ้น การประเมินกับเนื้อหาการเรียนรู้ ไม่สอดคล้องกัน พัฒนาแบบทดสอบการศึกษา ปรับปรุงการประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนาระบบICTเพื่อการทดสอบ และประเมินผล =โครงการที่ดำเนินการแล้วและมีผลสัมฤทธิ์บางส่วนแล้ว ตัวชี้วัดมาก กำหนดตัวชี้วัดใหม่ ปรับเครื่องมือ ระบบและวิธีการประเมิน/ประกันคุณภาพ การประเมินสถานศึกษา =โครงการที่เริ่มต้น ดำเนินการ การประเมินภายในภายนอกไม่สอดคล้องกัน พัฒนาคุณภาพ ผู้ประเมิน/ประกันคุณภาพ ตั้งคณะกรรมการร่วม(สมศ.กับศธ) สร้างTrainersด้านการประเมินคุณภาพ

49 2 ครูบางส่วนไม่เก่ง ครูไม่ครบชั้น การผลิตและพัฒนาครู สอนไม่ตรงเอก
ความเร่งด่วน ? ครูบางส่วนไม่เก่ง ไม่มีองค์ความรู้ พัฒนากระบวนการผลิต คัดสรรคนเก่ง คนดีเป็นครู ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ครูบางส่วนสอนแต่อธิบาย หน้าห้องเรียน สนับสนุนทุนเรียน ครูระดับอุดมศึกษา พัฒนาครูให้เป็น facilitator Coaching และ Motivator พัฒนาระบบนิเทศ ขาดเทคนิค การสอน เปิดโอกาสให้คนเก่งสาขาวิชาเฉพาะเป็นครู ราชภัฎเป็นเลิศ (ด้านครู) มหาวิทยาลัยเป็นพี่เลี้ยง 2 ขาดแคลนครู สาขาเฉพาะ ใช้ระบบช่วยสอน จับกลุ่มสถานศึกษา ครูไม่ครบชั้น สอนไม่ตรงเอก การผลิตและพัฒนาครู ครูไม่ครบชั้น ให้สามารถโอนย้ายข้ามเขตได้ หรือสร้างแรงจูงใจในการย้าย DLTV ปรับกฎ ระเบียบ เรื่องใบประกอบวิชาชีพ ครูกระจุกตัวอยู่ในเมือง/ร.ร.ใหญ่ สร้างระบบการพัฒนา/อบรมครูที่ใช้เวลานอกเหนือเวลาสอน โครงการจ้างครูผู้ทรงคุณค่า (ครูเกษียณ) การอบรม และการพัฒนา ทำงานตามสั่งของผู้ใหญ่ ภาระงานเยอะ ปรับหลักเกณฑ์การโอนย้าย ลดภาระการรายงาน ทำเอกสารสำหรับการประเมิน การประกัน ภายในภายนอก การปฏิบัติงานที่ไม่เกี่ยวกับการสอน กำหนดให้พัฒนาครู เฉพาะช่วงปิดภาคเรียน ปรับปรุงเกณฑ์ การประเมินวิทยฐานะ ความก้าวหน้า ในอาชีพ ปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคล ครูขาดขวัญ และกำลังใจ มาตรการในการแก้ปัญหาหนี้สินครู สร้างวินัยในการใช้เงิน ปัญหาหนี้ ขาดสวัสดิการ ปรับปรุงบ้านพักครูที่ทรุดโทรมหรือไม่ปลอดภัย เร่งปรับปรุงบ้านพักครู

50 3 การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนามาตรฐานการศึกษา
ไม่นำผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนมาเป็นตัวชี้วัดหลักในการเลื่อน วิทยฐานะและพิจารณาความดีความชอบ ระบบการประเมินต้องเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานของครู ความเร่งด่วน ? ประเมินครู สร้างกรอบมาตรฐานการประเมิน ประเมินวิทยฐานะให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา สามารถเลื่อนชั้นได้ ทั้งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ 3 การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนามาตรฐานการศึกษา สร้างระบบการส่งต่อ/คัดเลือกเพื่อศึกษาในแต่ละช่วงชั้นที่มีประสิทธิภาพ ระบบการศึกษาต่อในแต่ละระดับ ระบบรับตรง/การเก็บสะสมหน่วยกิต ในขณะที่ยังไม่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบทดสอบเพื่อประเมินผ่านหรือซ้ำชั้นในชั้น ป.3 ป.6 และ ม.3 การประเมินไม่ตอบโจทย์เรื่องทักษะ ความรู้ ความสามารถของผู้เรียนและสมรรถนะตามที่หลักสูตรกำหนด พัฒนาระบบการทดสอบ วัด ประเมิน และเทียบโอน พัฒนาแบบทดสอบการศึกษา ที่เป็นมาตรฐานระดับชาติ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ปรับปรุงการประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สร้างเครื่องมือ ระบบและวิธีการประเมิน/ประกันคุณภาพ พัฒนาระบบICTเพื่อการทดสอบ และประเมินผล สร้างภาระให้ครู กำหนดตัวชี้วัดใหม่ ตัวชี้วัด มีจำนวนมาก การประเมินสถานศึกษา ตั้งคณะกรรมการร่วม (สมศ.กับศธ) พัฒนาคุณภาพ ผู้ประเมิน/ประกันคุณภาพ การประเมินภายในภายนอกไม่สอดคล้องกัน สร้างTrainers ด้านการประเมินคุณภาพ

51 ความเร่งด่วน ? สร้างทัศนคติเชิงบวกให้กับผู้ปกครอง สร้างค่านิยมอาชีวศึกษา ขาดกำลังแรงงานสายวิชาชีพ สร้างค่านิยม การให้ทุนศึกษาด้านวิชาชีพTTS คนเรียนน้อย มีความปลอดภัย ทวิศึกษา มีความก้าวหน้าในอาชีพ สื่ออุปกรณ์ ไม่ทันสมัย มหาวิทยาลัยเปิดปริญญาตรี ในสายวิชาชีพ จบแล้วมีงานทำ การผลิต พัฒนากำลังคนและงานวิจัย ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ 4 มาตรฐานฝีมือ ยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสถานประกอบการ เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา หลักสูตร ไม่สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป อาชีวศึกษาไทยเป็น Hub ASEAN พัฒนาทักษะอาชีพให้ตรงตามความต้องการตลาดแรงงาน ทวิภาคี ขาดแคลนครูในสาขาเฉพาะ อาขีวศึกษาสู่สากล สถาบันอาชีวไทยจีน ไทยญี่ปุ่น ไทยเกาหลี/MOU เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมาเป็นครูอาชีวศึกษา คนจบปริญญา ตกงาน คณะกรรมการ สานพลังประชารัฐ การผลิตบัณฑิต ในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ส่งเสริมความเป็นเลิศเฉพาะด้านให้กับสถานศึกษา ปรับเกณฑ์การสรรหา และบรรจุครูสายวิชาชีพ บัณฑิตที่จบไม่มีศักยภาพ เปิดหลักสูตรที่เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน อาชีวศึกษาเป็นเลิศ ขาดฐานข้อมูลDemand/Supply กำหนดบทบาทของสถานศึกษาในการผลิตนักศึกษาให้ชัดเจน อุดมศึกษาเป็นเลิศ งานวิจัย ไม่สามารถนำไปใช้งานได้จริง ให้ทุนกู้ยืมในสาขาที่ขาดแคลน ส่งเสริมทักษะจำเป็นสำหรับการทำงานควบคู่กับวิชาการ ขาดคุณภาพ สอนภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาอาชีวะที่จบไปแล้ว ไม่ตอบรับกับการพัฒนาประเทศ ส่งเสริมงานวิจัยที่นำไปใช้งานได้จริง ปรับปรุงงานวิจัยให้เข้าสู่ตลาด

52 ไม่ทั่วถึง โครงสร้างพื้นฐาน ความเร่งด่วน ? บูรณาการ ICT ทั้งด้าน Content Network และ MIS ภายในกระทรวง ศึกษาธิการ ทับซ้อน จัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 5 ขาดความเสถียร ICT เพื่อการศึกษา ระบบฐานข้อมูล ขาดการบูรณาการ จัดทำแผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน ไม่ทันสมัย ประสานความร่วมมือICT กับหน่วยงานภายนอกทั้งด้าน Content Network และ MIS ไม่ได้นำข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ระบบการจัดการ เนื้อหาสาระ/ องค์ความรู้ ความหลากหลายของระบบจัดเก็บ บูรณาการงบประมาณ ICT ผลิตแต่ไม่เผยแพร่และนำไปใช้ DLTV/DLIT/ETV

53 6 การบริหารจัดการ ความเร่งด่วน ? ระบบงบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณแบบรายหัวมีผลกระทบต่อโรงเรียนขนาดเล็ก ปรับระบบการบริหารงบประมาณให้เหมาะสม ระบบคูปองเพื่อการศึกษา ระบบงบประมาณ ที่ไม่สอดคล้องต่อการดำเนินงาน แก้ไขปัญหางบประมาณ รายหัวโรงเรียนขนาดเล็ก การบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเล็ก ใช้งบประมาณ ในด้านที่ไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียน จัดสรรงบประมาณโดยพิจารณาจากการดำเนินงานที่เป็นไปตามกรรอบการปฏิรูปการศึกษา ใช้งบประมาณเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 6 การบริหารจัดการ มีหน่วยรอง จำนวนมาก ปรับปรุงโครงสร้างเพื่อให้การบริหารจัดการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จัดกลุ่ม Cluster การกำกับดูแลขาดประสิทธิภาพ ยุบรวมบูรณาการกับหน่วยงานอื่นเพื่อการบริหารจัดการในพื้นที่ ไม่มีหน่วยงานกำกับในภูมิภาค ปรับโครงสร้าง การดำเนินงานระหว่างองค์กรหลัก ในกระทรวงขาดประสิทธิภาพส่งผลต่อการปฏิบัติงานทั้งระบบ ขาดการ บูรณาการ ปรับระบบการบริหารงานให้มีความคล่องตัว บูรณาการการทำงานได้อย่างครอบคลุม ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารการศึกษา กระจายอำนาจจน ไม่สามารถควบคุมได้ ปรับปรุงระเบียบในการเข้าสู่ตำแหน่ง และความก้าวหน้าในตำแหน่งของผู้บริหารในพื้นที่ ปรับปรุงกฎ ระเบียบที่ทำให้สามารถกำกับและติดตามได้ การกระจายอำนาจ ขาดธรรมาภิบาลในการใช้อำนาจหน้าที่

54 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

55 “สร้างฐานข้อมูลกลางและสารสนเทศที่เป็นเอกภาพ”
การบูรณาการระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา “สร้างฐานข้อมูลกลางและสารสนเทศที่เป็นเอกภาพ” ความมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลกลาง 1.ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา 2.ข้อมูลสถานศึกษา 3.ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา 4.ข้อมูลบุคลากรอื่นๆ (เชื่อมโยงกันและมีข้อมูลกลาง)

56 สรุปผลสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558
แผนที่แสดงอัตราการ ขาด-เกิน ข้าราชการครู ป.6 วิชาภาษาอังกฤษ แยกรายเขตพื้นที่ สังกัด สพป. แผนที่แสดงร้อยละการขาดเกิน อัตรากำลังครู ของ สพฐ. แสดงมีครูขาดเกณฑ์มากกว่า -10% (6) แสดงมีครูขาดเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (32) แสดงมีครูเกินเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (31) แสดงมีครูเกินเกณฑ์มากกว่า 10% (8) กลุ่มสูง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับแรก ) กลุ่มปานกลาง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ในอันดับ ) กลุ่มต่ำ (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับสุดท้าย) หมายเหตุ : เรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย

57 สรุปผลสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558
แผนที่แสดงอัตราการ ขาด-เกิน ข้าราชการครู ป.6 วิชาภาษาวิทยาศาสตร์ แยกรายเขตพื้นที่ สังกัด สพป. แผนที่แสดงร้อยละการขาดเกิน อัตรากำลังครู ของ สพฐ. แสดงมีครูขาดเกณฑ์มากกว่า -10% (6) แสดงมีครูขาดเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (32) แสดงมีครูเกินเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (31) แสดงมีครูเกินเกณฑ์มากกว่า 10% (8) กลุ่มสูง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับแรก ) กลุ่มปานกลาง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ในอันดับ ) กลุ่มต่ำ (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับสุดท้าย) หมายเหตุ : เรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย

58 แผนที่แสดงอัตราการ ขาด-เกิน
ความสัมพันธ์ของจำนวนครูกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน แผนที่แสดงอัตราการ ขาด-เกิน ข้าราชการครู ผลสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558 ป.6 วิชาภาษาไทย แยกรายเขตพื้นที่ สังกัด สพป. แผนที่แสดงร้อยละการขาดเกิน อัตรากำลังครู ของ สพฐ. แสดงมีครูขาดเกณฑ์มากกว่า -10% (6) แสดงมีครูขาดเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (32) แสดงมีครูเกินเกณฑ์ระหว่าง 0-10% (31) แสดงมีครูเกินเกณฑ์มากกว่า 10% (8) กลุ่มสูง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับแรก ) กลุ่มปานกลาง (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ในอันดับ ) กลุ่มต่ำ (คะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ อยู่ใน 30 อันดับสุดท้าย) หมายเหตุ : เรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย

59 สรุปผล O-NET จำแนกตามสาระการเรียนรู้(นครศรีธรรมราช)
ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 วิชาภาษาไทย

60 สรุปผล O-NET จำแนกตามสาระการเรียนรู้ (นครศรีธรรมราช)
ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 วิชาสังคมศึกษา

61 สรุปผล O-NET จำแนกตามสาระการเรียนรู้ (นครศรีธรรมราช)
ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 วิชาภาษาอังกฤษ

62 สรุปผล O-NET จำแนกตามสาระการเรียนรู้ (นครศรีธรรมราช)
ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 วิชาคณิตศาสตร์

63 สรุปผล O-NET จำแนกตามสาระการเรียนรู้ (นครศรีธรรมราช)
ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 วิชาวิทยาศาสตร์

64 การบูรณาการการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน กับหน่วยงานการศึกษาในจังหวัด
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา กศน. 19 แห่งทั่วประเทศ (รถนิทรรศการเคลื่อนที่ /ท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่)

65 ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลนักศึกษาจบแล้วมีงานทำ
ฐานข้อมูลความต้องการแรงงานในจังหวัด ฐานข้อมูลอื่นๆ

66 การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการศึกษา (EMIS)
ภาคเอกชน ผู้บริหาร บริการข้อมูล One Stop e-Service กศน. สถานศึกษา ประชาชน สช. สรอ. สถานศึกษา ก.ค.ศ. สทศ. สกศ. ศธ. สพฐ. สถานศึกษา กรมการปกครอง พม. สกอ. Central Database สถานศึกษา สรอ. สอศ. อื่นๆ สถานศึกษา คุรุภา หน่วยงานจัดการศึกษาภายนอก ศธ. สกสค. สธ. สถ กก. คค. พม. วธ กห พศ. สตช. อปท, หน่วยงานภายใน ศธ.

67 โครงข่าย ICT

68 UniNet (สกอ.) DE (อินเทอร์เน็ตชุมชน) Internet ของเอกชน

69 การบูรณาการระบบจัดการองค์ความรู้

70 โครงการบูรณาการสื่อเพื่อการจัดการเรียนการสอน
และการเรียนรู้ตลอดชีวิต Wiki Streaming Internet e-Learning สพฐ. รวบรวม/ แลกเปลี่ยนข้อมูล นักเรียน / ครู / ประชาชน เข้าใช้งานสื่อ ค้นหา Data Schema Profile วิเคราะห์ (BI) Rating Social media Metadata content DB Score สกอ. สอศ. อื่นๆ คลังสื่อการเรียนรู้กลาง History CMS Content Service Loader ระบบค้นหา Content Data Schema/ Single Sign On ระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษา ประชาสัมพันธ์ Caching Archive สื่อที่ได้รับความนิยม

71 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

72 การสื่อสารภายในองค์กร
ส่วนกลาง - เดินสายชี้แจงFace to Face - Line เฉพาะกลุ่ม 18 ภาค (กลุ่มจังหวัด) กศจ. 77 จว. มหาวิทยาลัย เขตพื้นที่การศึกษา สถาบันอาชีวศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล (1,000 คน) กลุ่มนโยบายและแผน (1,000 คน) กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล (3,000 คน) กลุ่มส่งเสริม การจัดการศึกษา (1,000 คน) โรงเรียน/ครู (เตรียมใช้สื่อ VDO Conference) (500,000 คน)

73 การสื่อสารภายนอกองค์กร
Website กระทรวง เป้าหมาย - นักเรียน - ผู้ปกครอง - ประชาชนทั่วไป สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ TV Info graphic แบบสอบถาม Line Official ตอบคำถามอัตโนมัติ ชี้แจงข้อมูลต่างๆ

74 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
เข้าใจนโยบายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานในทุกระดับ บูรณาการทุกภาคส่วน จัดทำแผนงาน/โครงการ การแบ่งพื้นที่/ความรับผิดชอบ จัดลำดับความเร่งด่วน ให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ การสื่อสารภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back)

75 การประเมินผลและนำผลมาปรับปรุง(Feed Back) แผนงานโครงการ/กิจกรรม
ยุทธศาสตร์ แผนงานโครงการ/กิจกรรม Output/Outcome KPI Feedback

76 Question Answer


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google