ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
(Backward Design) นำเสนอโดย ดร. ฉัตรแก้ว เภาวิเศษ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
2
สร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
Innovation Configuration “...การเปลี่ยนแปลงจะสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการสร้างความเข้าใจในสิ่งเดียวกันให้ตรงกันและเหมือนกันเสียตั้งแต่เริ่มต้น...” 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
3
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Understanding Backward Design Transfer as goal Focus on BIG ideas Meaningful Learning 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
4
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Educational Change Initiation Implementation Institutionalisation Policy Curriculum Instructional Design Unsatisfied Satisfied Analysis Needs, Goals, Learning Materials, Learning Activities, Trial Out, Evaluation Instructional Design = 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
5
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Change in education is the implementation of new policies which introduce changes in materials (curriculum and learning materials), teaching strategies, and teachers’ beliefs which aim at achieving better learning achievement for students. (Czarniawska-Joerges, 1997; Fullan, 1991; and 2001a; and Hall and Hord, 2001). 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
6
ความสำคัญของการออกแบบการจัดการเรียนรู้
เป็นสิ่งเดียวที่จะพิสูจน์หลักฐานร่องรอยว่าครูได้จัดการเรียนรู้ตรงกับที่กำหนดไว้ในพ.ร.บ. การศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ หรือไม่ เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเข้าสู่การมี และเลื่อนวิทยฐานะ (สมรรถนะประจำสายงาน/สมรรถนะที่ 5) ในทุกระดับ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
7
Policy & Backward Design
ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและศักยภาพ กิจกรรมการเรียนรู้ตามความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างของบุคคล ทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญและแก้ไขปัญหา เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านใฝ่เรียน ผสานความรู้ คุณธรรม ค่านิยม อันพึงประสงค์ในทุกวิชา มุ่งสู่เป้าหมายสุดท้ายที่ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน Be Tailored/ Organised Equip/ Experience/ Explore/ Rethink, Revise WHERETO 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
8
4 องค์ประกอบพื้นฐานในกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้
แบบการเรียนรู้นี้จัดขึ้นเพื่อใคร (Characteristics of Learners) ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร (Learning Objectives) มีวิธีการในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดผลดีที่สุดได้อย่างไร (Instructional Strategies) จะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ (Evaluation Procedures) 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
9
Why should it be a “Backward Design?”
16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
10
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้
วิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จัดทำสาระการเรียนรู้ จัดทำคำอธิบายรายวิชา กำหนดหน่วยการเรียนรู้ วางแผนการเรียนรู้ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
11
ข้อดีของ Backward Design
ช่วยลดความยุ่งยากซับซ้อนของกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพราะใช้มาตรฐานการเรียนรู้เป็นตัวกำหนดกรอบ ช่วยลดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเนื้อหาการเรียนแน่นและซ้ำซ้อน สามารถบูรณาการเนื้อหาได้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้แบบของหน่วยการเรียนรู้ ครูจึงไม่ต้องทำแผนย่อยรายชั่วโมงที่มีเนื้อหาซ้ำซ้อนกันอีก 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
12
ข้อดีของ Backward Design
เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และสนองตอบความต้องการและความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ผู้เรียนมีโอกาสฝึกปฏิบัติจริง มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผล กิจกรรมการวัดประเมินผลสามารถสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานการเรียนรู้และการวัดประเมินผลตามสภาพจริง 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
13
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Backward Design… “…To begin with the end in mind means to start with a clear understanding of your destination. It means to know where you’re going so that you better understand where you are now so that the steps you take are always in the right direction.” Stephen R. Covey, The Seven Habits of Highly Effective People, 1989: p. 89 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
14
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Backward Design 1. Identify Desired Results/ Goals 2. Determine Acceptable Evidence 3. Learning Plan 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
15
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
นิยามคำศัพท์ ความเข้าใจ หรือความรู้ความเข้าใจคงทน (Desired / Enduring Understandings) คำถามสำคัญ (Essential Question) 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
16
ความเข้าใจคงทน (Understandings)
ความเข้าใจคงทน เป็นผลมาจากการสร้างความรู้ ของผู้เรียน ด้วยการทำความเข้าใจหรือแปลความหมายในสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ทั้งหมดทุกแง่มุมตลอดแนว ด้วยวิธีการถามคำถาม การแสดงออก และการสะท้อนผลงาน “…Understand must be ‘comprehended’, but knowledge need only be ‘apprehend’ …” 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
17
จะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเข้าใจ
Can explain: สามารถอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีหลักการ โดยแสดงให้เห็นถึงการใช้เหตุผล ข้อมูล ข้อเท็จจริง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือประกอบในการอ้างอิง เชื่อมโยงกับประเด็นปัญหา Can interpret: สามารถตีความหมายเรื่องราวต่าง ๆ โดยอาจใช้แนวคิด ทฤษฎี เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ หรือมุมมองของตนเองประกอบการตีความและสะท้อนความคิดเห็น 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
18
จะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเข้าใจ
Can apply: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ เหมาะสมกับสถานการณ์ Have perspective: สามารถที่จะมองเห็น หรือรับรู้ประเด็นความคิดต่าง ๆ และตัดสินใจที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อ โดยผ่านขั้นตอนการวิพากษ์ วิจารณ์ และมุมมองในภาพกว้างโดยมีแนวคิด ทฤษฎี ข้อมูล ข้อเท็จจริงสนับสนุนการรับรู้นั้น ๆ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
19
จะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเข้าใจ
Can empathize: สามารถบอกคุณค่าในสิ่งต่าง ๆ ที่คนอื่นมองไม่เห็น หรือคิดว่ายากที่จะเชื่อถือได้ ด้วยการพิสูจน์สมมติฐานเพื่อทำให้ข้อเท็จจริงนั้น ๆ ปรากฏ Have self-knowledge: ตระหนักถึงความสามารถทางด้านสติปัญญา วิถีชีวิต นิสัยใจคอ ความเป็นตัวตนของตนเอง ซึ่งคือเบ้าหลอมความเข้าใจ ความหยั่งรู้ในเรื่องราวต่าง ๆ มีความตระหนักว่า มีสิ่งใดอีกที่ยังไม่เข้าใจ และสามารถสะท้อนความหมายของสิ่งที่ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
20
คำถามสำคัญ (Essential Question)
คำถามสำคัญเป็นประตูสู่การสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียน โดยมุ่งถามสิ่งที่เป็นแก่นความรู้หลักที่ต้องการให้เกิดเป็นความรู้คงทนในตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสำรวจโลก เพื่อสร้างความคิดรวบยอดในแก่นสาระความรู้ ทฤษฎี และประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่แทรกอยู่ในเนื้อหาสาระการเรียนและยังไม่ได้เฉลยคำตอบออกมา จนกว่าจะผ่านกระบวนการการเรียนรู้ และเกิดความเข้าใจในความหมายของสิ่งที่ได้เรียนรู้แล้วจริง ๆ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
21
อย่างไรจึงจะเป็นคำถามสำคัญ
เป็นคำถามที่กว้าง ไม่ล้าสมัย ใช้ถามได้ตลอดเวลา เน้นถามแก่นความคิดหลักและจัดทำขึ้นอย่างเป็นระบบ เน้นเนื้อหาสาระหลักที่เกี่ยวพันกับการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ ใช้ถามได้กับนักเรียนทุกคนในทุกระดับความสามารถ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
22
ประโยชน์ของคำถามสำคัญ
ใช้กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนเพื่อนำเข้าสู่หน่วยการเรียนรู้ หรือในระหว่างดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ (Hook & Hold) ใช้ตีกรอบความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน ใช้เพื่อตรวจสอบพื้นฐานความรู้ของผู้เรียน (Background Knowledge) ก่อนเริ่มการจัดการเรียนรู้ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
23
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
Backward Design 1. Identify Desired Results/ Goals 2. Determine Acceptable Evidence 3. Learning Plan 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
24
3 Steps of Backward Design
1. ระบุเป้าหมายหลักของการเรียนรู้ (Identify Desired Goals) ว่าหน่วยการเรียนรู้นี้ต้องการให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ข้อใดบ้าง ด้วยการ :- วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ กำหนดคำถามสำคัญ (Essential Questions) และความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เกิดในตัวผู้เรียน 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
25
3 Steps of Backward Design
2. กำหนดวิธีการวัดประเมินผล (Determine Acceptable Evidence) ซึ่งอาจประกอบด้วย วัดพฤติกรรมการเรียนรู้รวบยอด (Performance Task – Project Work) ถามตอบ ทดสอบย่อย ประเมินจากการสังเกต การทำการบ้าน การเขียนบันทึกประจำวัน การให้ผู้เรียนสะท้อนผลการเรียนรู้ของตัวเอง (Self-Assessment) 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
26
3 Steps of Backward Design
3. วางแผนการจัดกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้(Learning Plan) ใช้เทคนิค “WHERETO” W – Where to go, What to learn H – Hook & Hold E – Equip, Experience, Explore R – Rethink & Revise E – Evaluate T – Be Tailored O – Be Organised 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
27
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
เทคนิค WHERETO W: บอกจุดมุ่งหมายของหน่วยการเรียนรู้ H: ใช้คำถามสำคัญในการกระตุ้นเพื่อดึงและความสนใจของผู้เรียน E: ให้ความรู้ สร้างประสบการณ์ ฝึกทักษะ และการนำไปใช้จริง R: ใคร่ครวญ ตรวจสอบความรู้ ทักษะ และชิ้นงาน E: การวัดประเมินผล T: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตรงกับความต้องการ ความถนัด/สนใจ O: การบริหารจัดการชั้นเรียน 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
28
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
2W & 3P’s VS WHERETO 2W & 3P’s WHERETO Warm Up -Where to go/What to learn -Hook & Hold/Be Organised Presentation -Equip/Be Tailored/ Be Organised Practice -Experience / Explore / Be Tailored/Be Organised Products/Wrap Up -Evaluate/ Be Tailored -Rethink & Revise 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
29
ครูคือผู้นำการเปลี่ยนแปลง
“…Educational change depends on what teachers do and think. It’s as simple and as complex as that…” Fullan, 2001: 115 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
30
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
Backward Design: จอมยุทธ์ที่ไร้กระบวนท่า ตระหวัดกระบี่พุ่งเข้าสู่เป้าหมายเท่านั้น เป้าหมายเปลี่ยน เพลงกระบี่ก็ย่อมเปลี่ยน 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
31
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นคำถามที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนให้มีปฏิกิริยาตอบโต้ ไม่ใช่คำถามในลักษณะที่ถามหาข้อเท็จจริงแล้วจบเลย เช่น ทำไมอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการสำหรับคน ๆ หนึ่ง จึงไม่เหมาะสำหรับคนอีกคนหนึ่ง นักเรียนคิดว่าตัวนักเรียนและเพื่อน ๆ เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีหรือไม่ เพราะเหตุใด 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
32
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นคำถามที่มีลักษณะยั่วยุอารมณ์ของผู้เรียนให้รู้สึกไม่พอใจ สงสัย อยากโต้แย้ง หรือตลกขบขัน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียนในเชิงลึกในขณะที่กำลังคิดตาม เช่น ทำไมอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการของเธอจะต้องมีรสชาดจืดชืดอย่างนี้ล่ะ นักเรียนคิดว่าอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งที่อันตรายสำหรับเด็ก ๆหรือไม่ เพราะเหตุใด 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
33
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นคำถามที่แฝงพื้นฐานทางด้านปรัชญาและความคิดรวบยอดเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดตามอย่างผู้เชี่ยวชาญ เช่น นักเรียนคิดว่าประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่กุขึ้นมาบนพื้นฐานของความลำเอียงใช่หรือไม่ อะไรคือข้อพิสูจน์สนับสนุนหรือข้อโต้แย้งของเรื่องดังกล่าว เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือเป็นเรื่องที่เขียนขึ้นมาเพื่อปกป้องคนบางคน 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
34
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นคำถามที่นำไปสู่คำถามสำคัญอื่น ๆ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ข้ามไปสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เช่น ตามธรรมชาติแล้ว จะมีเฉพาะผู้ที่แข็งแรงกว่าเท่านั้นที่จะมีชีวิตอยู่รอด นำไปสู่คำถามต่อมาว่า “แข็งแรง” หมายถึงอะไร เป็นความแข็งแรงทางด้านร่างกายหรือจิตใจ แมลงที่มีชีวิตรอดมาจนถึงโลกปัจจุบันล่ะแข็งแรงหรือเปล่า และเป็นความแข็งแรงแบบใด เป็นต้น 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
35
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นโครงสร้างคำถามพื้นฐานที่สามารถใช้ถามได้ซ้ำแล้วซ้ำอีกไม่ว่าจะเป็นระดับการศึกษาใดก็ตาม เช่น นักเรียนคิดว่าอะไรที่ทำให้เรื่องรามเกียรติ์ได้รับยกย่องให้เป็นวรรณคดีที่ยิ่งใหญ่ นวนิยายเรื่องแฮรี่ พอตเตอร์ล่ะถือว่าเป็นวรรณคดีหรือไม่ เพราะเหตุใด 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
36
ลักษณะของคำถามสำคัญ (Essential Questions)
เป็นคำถามที่กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดไตร่ตรองหาเหตุผลและ ข้อสนับสนุนสมมุติฐานของกรอบความคิดใหญ่ รวมทั้งความรู้หรือบทเรียนที่เคยได้เรียนผ่านมาแล้วในเชิงลึกถึงแก่นของความรู้นั้น ๆ เช่น นักเรียนคิดว่า “ประชาธิปไตย” คือการไปออกเสียงเลือกตั้งใช่หรือไม่ หรือ ประวัติศาสตร์คือเรื่องเล่ามากกว่าเป็นเรื่องของวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ได้ แล้วการเรียนวิชาประวัติศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
37
คำถามสำคัญสำหรับสาระวิชาที่เน้นทักษะ
ความคิดรวบยอด/ ความคิดหลัก (Key concepts) จุดมุ่งหมายและคุณค่า (Purpose and value) เทคนิค วิธีการ (Strategies and tactics) บริบทในการใช้ทักษะ (Context of use) 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
38
ตัวอย่างคำถามสำคัญสำหรับสาระวิชาที่เน้นทักษะ
Key concept: นักเรียนทราบได้อย่างไรว่านักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องที่กำลังอ่าน Purpose and value: ทำไมนักอ่านจึงต้องตรวจสอบความเข้าใจในการอ่านเนื้อเรื่องของตนอย่างสม่ำเสมอ Strategy: นักอ่านที่ดีจะทำอย่างไรเมื่ออ่านเนื้อเรื่องไม่เข้าใจ Context use: เราจะใช้กลยุทธ์ “fix-up” เมื่อใด 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
39
ตัวอย่างคำถามสำคัญสำหรับสาระวิชาที่เน้นทักษะ
มีวิธีการใช้แรงเหวี่ยงในการหวดไม้กอล์ฟอย่างเต็มที่อย่างไร ที่จะไม่ทำให้สูญเสียการควบคุมทิศทางของลูกกอลฟ์ การตีวงสวิงที่ดีทำอย่างไร และเมื่อไหร่จึงควรตีวงสวิงอย่างนิ่มนวล ท่าตีกอล์ฟแต่ละท่า มีผลต่อการใช้กำลังในการตีหรือไม่อย่างไร 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
40
คุณลักษณะของแบบการเรียนรู้ที่ดี
มีการกำหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการคิดวิเคราะห์ เน้นการประยุกต์ ริเริ่มได้เหมาะสมกับสาระ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการกำหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นความแตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียน มีการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้สะท้อนความสามารถของตนเองตามข้อกำหนดในผลการเรียนรู้ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
41
คุณลักษณะของแบบการเรียนรู้ที่ดี
มีการออกแบบการประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย กิจกรรมการเรียนรู้ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ รู้จักการคิดประยุกต์ และคิดริเริ่มได้เหมาะสมตามวัย กิจกรรมการเรียนรู้ตรงกับความต้องการของชุมชน 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
42
คุณลักษณะของแบบการเรียนรู้ที่ดี
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมินผลการการจัดการเรียนรู้ มีการนำแบบการเรียนรู้ไปใช้จริงและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง มีการปรับใช้แบบการเรียนรู้ตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม มีการประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สามารถใช้เป็นสื่อแนะนำความรู้ให้แก่เพื่อนครูได้ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
43
สนองความต้องการ & ความแตกต่าง
ของผู้เรียน เป้าหมายหลัก การเรียนรู้ Backward Design กิจกรรม การเรียนรู้ การวัดประเมินผล การเรียนรู้ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
44
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
References Bhaowises, C. (2005) “Exploring the Implementation of Educational Change at Classroom Level: The view of EFL teachers in Thailand”, PhD Thesis. Birmingham: The University of Birmingham. Covey, S. R. (1989) The Seven Habits of Highly Effective People: Powerful lessons in personal change. New York: Free Press. Dubin, F. and Olshtain (2000) Course Design. Cambridge: Cambridge University Press. 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
45
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
References Henson, T. K. (1995) Curriculum Development for Education Reform. New York: HarperCollins College Publishers. Joyce, B., Weil, M., and Calhoun, E. (2000) Models of Teaching. MA: A Pearson Education Company. Kemp, J. E., Morrison, G. R., and Ross, S. T. (1998) Designing Effective Instruction. New Jersey: Prentice-Hall, Inc. 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
46
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
References McTighe, J. and Wiggins, G. (2004) Understanding by Design: Professional Development Workbook. Virginia: Association for Supervision and Curriculum Development (ASCD). Wiggins, G. and McTighe, J. (2006) Understanding by Design. (2nd ed.) New Jersey: Pearson Education, Inc. 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
47
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
References ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2544a) รายงานการประเมินผลคุณภาพการศึกษาระดับชาติ พ.ศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. เอกสารอัดสำเนา, กรมวิชาการ. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2544b) รายงานการประเมินผลคุณภาพการศึกษาระดับชาติ พ.ศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. เอกสารอัดสำเนา,กรมวิชาการ. ไทยรัฐ, หนังสือพิมพ์. (2550) “ผลคะแนน NT ของนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.3” ฉบับวันที่ 25 เมษายน 2550 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
48
Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
ดร. ฉัตรแก้ว เภาวิเศษ 16/09/2018 Instructional Design By Dr. C. Bhaowises
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.