งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาชีวอนามัย และความปลอดภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาชีวอนามัย และความปลอดภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
22/5/2016 วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

2 คำอธิบายรายวิชา(เนื้อหา)
ความหมายและความสำคัญของวิชาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย โรคจากการประกอบอาชีพ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง อุบัติภัย/การบาดเจ็บอันตรายที่ เกิดจากการประกอบอาชีพ สภาวะสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ การทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ สุขภาพของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมและกสิกร รม การยศาสตร์ การสุขาภิบาลในโรงงาน หลัก และวิธีประเมินความเสี่ยงที่เกิดจากสภาวะแวดล้อมใน โรงงานอุตสาหกรรม วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

3 จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา และการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้ อธิบายอุบัติภัย/การบาดเจ็บ และ อันตรายที่เกิด จากการประกอบอาชีพได้ วิเคราะห์และอธิบายประเด็นสำคัญของโรคจากการ ประกอบอาชีพได้ อธิบายหลักการ ความสำคัญของการยศาสตร์ หรือเออร์กอนอมิกส์ และการตรวจสอบออร์กอนอ มิกส์ได้ อธิบายการเกิดอุบัติเหตุและการสร้างความปลอดภัย ในการทำงานได้ อธิบายหลักการและวิธีประเมินความเสี่ยงที่เกิดจาก สภาวะแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมได้ วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

4 การวัดและประเมินผล สอบกลางภาค 30 % สอบปลายภาค 30 %
สอบกลางภาค % สอบปลายภาค % จิตพิสัย (เข้าชั้นเรียน/แต่งกาย/มีส่วนร่วม) 5 % อภิปราย และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 5 % วิเคราะห์กรณีศึกษาและการนำเสนอ (การบ้าน) 10 % การทำงานกลุ่มและผลงาน % วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

5 แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
16/09/61 แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือประกอบการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอนรายวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน (Occupational Health and safety) (สุนุตรา ตะบูนพงษ์ วันเพ็ญ แวววีรคุปต์ และวิไล ตาปะสี เอกสารการสอนชุดวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หน่วยที่ 1-7 หน่วยที่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารประกอบการสอนรายวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน (Basic Occupational Health and safety) ( เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน. สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

6 ข้อตกลงร่วมกัน แต่งกายถูกระเบียบ หากผิดระเบียบ หักคะแนนจิต พิสัย 0.5
มาสายเกิน 15 นาที หักคะแนนจิตพิสัยครั้งละ 0.5 ขาดเรียน ครบ 3 ครั้ง ไม่มีสิทธ์สอบ ลากิจต้องแจ้งอาจารย์ทราบล่วงหน้า พร้อมเอกสาร หลักฐาน(ถ้ามี) ลาป่วย ต้องแจ้งด้วยตนเองหรือฝากเพื่อน ภายใน ชม.เรียน ห้ามเล่นโทรศัพท์มือถือ หรือ โซเชียลต่างๆ ยกเว้นการหาข้อมูล เพื่อทำกิจกรรมกลุ่ม ส่งการบ้าน รายงาน ให้ตรงเวลา หากมีข้อสงสัย เรื่องคะแนน สามารถขอดูข้อสอบ หรือทักท้วงได้ วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

7 งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ลักษณะงานและขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย ความเป็นมาและการพัฒนางานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย ในประเทศไทย บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้อง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานด้านอาชีวอนา มัยและความปลอดภัย วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

8 1. ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16/09/61 1. ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ร่างกาย อาชีวอนามัย และความปลอดภัย จิตใจ อยู่ดี อนามัย (Health) อาชีว (Occupation) โรค ภัยคุกคาม Hazard อันตราย Danger อาชีพ ความปลอดภัย (Safety) ความเสี่ยง Risk วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

9 1. ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16/09/61 1. ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย งาน อาชีวอนามัย สุขภาพกาย สุขภาพจิต วิถีชีวิต ในสังคม สภาพแวดล้อมในการทำงาน งานอาชีวอนามัย คือ งานที่ เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัย ของผู้ประกอบอาชีพ ทั้งมวล สภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่น เครื่องจักร ความร้อน ความเย็น แสงสว่าง รังสี เสียงดัง ความสั่นสะเทือน สารเคมี เชื้อโรค ค่าตอบแทน ชม.การทำงาน การเร่งงาน ทำงานซ้ำซาก การทำงานกะ ความไม่ชินในระบบงาน ต้องควบคุมและจัดให้ได้มาตรฐานและเหมาะสม วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

10 2. ลักษณะงานของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16/09/61 2. ลักษณะงานของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะกรรมการร่วมระหว่างองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization; ILO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) กำหนดจุดมุ่งหมายของงานอา ชีวอนามัยและความปลอดภัย ดังนี้ ป้องกัน (Prevention) จัดการงาน (Placing) เกิดความสมบูรณ์ของสุขภาพ ไม่ให้ทำงานเสี่ยงอันตราย ปรับสภาพงาน +คนให้เหมาะสม ไม่ให้มีสุขภาพเสื่อมโทรม ได้ทำงานสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพ (Promotion) ปกป้องคุ้มครอง (Protection) ปรับงาน/ปรับคน (Adaptation) วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

11 2. ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16/09/61 2. ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การควบคุมดูแลทางด้าน 2.1 สภาพหรือสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 2.2 สุขภาพอนามัยของ ผู้ประกอบอาชีพ 2.1.1 งานดูแลด้านความปลอดภัย 2.2.1 งานป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ 2.1.2 งานดูแลด้านอาชีวสุขศาสตร์ 2.2.2 งานรักษาพยาบาลแก่ผู้ประกอบอาชีพ 2.1.3 งานดูแลด้านการยศาสตร์ 2.2.3 งานฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ประกอบอาชีพ วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

12 2. ลักษณะงานขอบเขตของงานอาชีวอนามัยฯ
16/09/61 2. ลักษณะงานขอบเขตของงานอาชีวอนามัยฯ 2.1.1 งานดูแลด้านความปลอดภัย การติดตั้งอุปกรณ์ความ ปลอดภัยต่างๆ การออกแบบติดตั้ง เครื่องจักรที่ปลอดภัย จัดสถานที่ให้สะอาด จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันส่วน บุคคล การวางแผนป้องกันและ ระงับอัคคีภัย การประเมินความเสี่ยง อบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

13 2. ลักษณะงานขอบเขตของงานอาชีวอนามัยฯ
16/09/61 2. ลักษณะงานขอบเขตของงานอาชีวอนามัยฯ 2.1.2 งานดูแลด้านอาชีวสุขศาสตร์ การจัดสภาพแวดล้อมด้าน กายภาพ เคมี และ ชีวภาพ ให้มีมาตรฐาน มีหลัก 3 ประการ คือ การตระหนัก/รู้ปัญหา การประเมิน การป้องกันและควบคุม วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

14 ขั้นตอนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย
ตระหนัก/การรู้ปัญหา (Recognition) อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ เช่น อุณหภูมิ เสียง แสง รังสี ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ อันตราย จากสารเคมี อันตรายจากด้านชีวภาพ ปัญหาทางด้านการยศาสตร์ ได้แก่ ความเหมาะสมของเครื่องมือ เครื่องจักร และวิธีการปฏิบัติงาน วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

15 ขั้นตอนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย (ต่อ)
2. การประเมินอันตราย (Evaluation) ต้องมีการประเมินระดับอันตราย โดยการ ตรวจสอบ การตรวจวัดเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน 3. การควบคุม (Control) โดยใช้มาตรการและวิธีการที่เหมาะสมในการ แก้ไขปัญหา วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

16 ความสัมพันธ์ระหว่างคนและสิ่งแวดล้อมของงาน
เมื่อไม่มีการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมของงานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โรคจากการทำงาน การตรวจวินิจฉัย การดูแลรักษา คนงานที่มีสุขภาพดี วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

17 ความสัมพันธ์ระหว่างคนและสิ่งแวดล้อมของงาน
16/09/61 ความสัมพันธ์ระหว่างคนและสิ่งแวดล้อมของงาน ที่มีการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของงานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โรคจากการทำงาน การตรวจวินิจฉัย การรู้ปัญหา การดูแลรักษา การประเมินอันตราย การควบคุมอันตราย คนงานที่มีสุขภาพดี สิ่งแวดล้อมของงานที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

18 2. ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16/09/61 2. ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2.1.3 งานดูแลด้านการยศาสตร์ การปรับปรุงสภาพการทำงานให้เหมาะสมกับคนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เช่น การออกแบบเครื่องจักรที่เหมาะสมกับขนาดร่างกายของคนงาน การออกแบบที่นั่งทำงาน หรือท่าที่เหมาะสมในการทำงาน วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

19 3. ความเป็นมาและการพัฒนางานอาชีวอนามัยฯในประเทศไทย
16/09/61 จะเน้นการออกกฎหมาย พ.ร.บ. การจัดตั้งหน่วยงาน องค์การต่างๆ และการพัฒนาทางการศึกษาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2401 มีการพัฒนาอุตสาหกรรมค่อนข้างชัดเจน จัดตั้งโรงสีไฟสำหรับสีข้าวเป็นครั้งแรก 2462 เข้าร่วมสมาชิกองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization; ILO) 2472 ร่างกฎหมายแพ่งและพานิชย์ เกี่ยวกับการจ้างแรงงาน ค้าจ้าง และมาตรการคุ้มครองลูกจ้าง 2477 ประกาศใช้ พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ.2477 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

20 3. ความเป็นมาและการพัฒนางานอาชีวอนามัยฯในประเทศไทย
16/09/61 3. ความเป็นมาและการพัฒนางานอาชีวอนามัยฯในประเทศไทย 2482 ประกาศใช้ พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2482 เน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพของลูกจ้าง 2484 ปรับปรุง พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ.2484 คุ้มครองสุขภาพและอนามัยของลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม มีการดำเนินการแฝงในงานต่างๆ หลายกรมกอง จัดส่งบุคคลไปศึกษาดูงานต่างประเทศ 2510 ก่อตั้งโครงการอาชีวอนามัย ต.สำโรงใต้ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ประกาศใช้ พ.ร.บ. วัตถุมีพิษ พ.ร.บ. แร่ ที่บัญญัติการคุ้มครองแก่คนงาน วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

21 3. ความเป็นมาและการพัฒนางานอาชีวอนามัยฯในประเทศไทย
16/09/61 คณะรัฐมนตรีมีมติตั้งคณะกรรมการประสานงาน อาชีวอนามัยแห่งชาติ ประกาศใช้ พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2518 และ 2522 ตามลำดับ 2515 กระทรวงสาธารณสุข ก่อตั้ง กองอาชีวอนามัย (ปัจจุบัน คือ กรมอนามัย) มีการเข้าร่วมประชุมต่างๆ มหาวิทยาลัยบางแห่งได้เปิดหลักสูตรเกี่ยวกับงานอาชีวอนามัย (ม.มหิดล ม.สุโขทัยธรรมาธิราช ม.บูรพา ม. ขอนแก่น ม.หัวเฉียว ม.วลัยลักษณ์) มีการประกาศใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

22 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
16/09/61 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม/นักอาชีวสุขศาสตร์ หน้าที่: สืบค้น ตรวจประเมิน เสนอมาตรการควบคุมสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เพื่อป้องกันโรคที่เกิดหรือเกี่ยวข้องกับการทำงาน บุคลากรด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม นักวิทยาศาสตร์อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วิศวกรรมความปลอดภัย หน้าที่: ตรวจสภาพการทำงาน และสิ่งแวดล้อมการทำงาน เพื่อประเมินป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ บุคลากรด้าน อาชีวนิรภัย วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

23 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
16/09/61 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง นักการยศาสตร์ หน้าที่: จัดและปรับปรุงสภาพการทำงานให้เหมาะสมกับร่างกายและจิตใจคนทำงาน บุคลากรด้าน การยศาสตร์ แพทย์อาชีวอนามัย พยาบาลอาชีวอนามัย หน้าที่: ตรวจสุขภาพ ส่งเสริม และรักษาสุขภาพแก่ผู้ประกอบอาชีพ บุคลากรด้าน อาชีวเวชศาสตร์ วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

24 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
16/09/61 4. บุคลากรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง แพทย์เฉพาะสาขา นักกายภาพบำบัด นักอาชีวบำบัด นักกายอุปกรณ์ นักจิตบำบัด หน้าที่: ฟื้นฟูสภาพความพิการของร่างกายและสภาพจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ บุคลากรด้าน เวชกรรมฟื้นฟู สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง < 50 คน จป. ระดับพื้นฐาน (ทั่วไปและงานก่อสร้าง) จป. ระดับหัวหน้า จป. ระดับบริหาร สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป จป. ระดับวิชาชีพ จป. ระดับหัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.) วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

25 5. หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง
16/09/61 5. หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง องค์กรวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพ สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ ทำงาน (ส.อ.ป) สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัย ใน การทำงาน (สปอท.) สมาคมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และสิ่งแวดล้อมแห่ง ประเทศไทย (สพอท.) ชมรมพยาบาลอาชีวอนามัย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) ชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในจังหวัด หรือ เขตต่างๆ วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

26 หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในต่างประเทศ
16/09/61 หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องในต่างประเทศ Occupational Safety and Health Administration กองอำนวยการในการบริหารความปลอดภัยและสุขภาพในการทำงาน– OSHA National Institute for Occupational Safety And Health สถาบันความปลอดภัยและสุขภาพในการทำงานแห่งชาติ– NIOSH American Conference of Governmental Industrial Hygienists สมาคมนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม– ACGIH Health and Safety Commission คณะกรรมาธิการสุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน – HSC American Industrial Hygiene Association สมาคมสุขศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมสหรัฐอเมริกา – AIHA International Labour Organizationองค์การแรงงานระหว่างประเทศ หน้าที่ เสนอแนะกฎหมาย / กำหนดมาตรฐาน / พัฒนา– ILO วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

27 หน่วยงานอาชีวอนามัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ
16/09/61 หน่วยงานอาชีวอนามัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

28 หน่วยงานอาชีวอนามัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ
16/09/61 หน่วยงานอาชีวอนามัยความปลอดภัยในสถานประกอบการ วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

29 6. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2549 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ และกฎกระทรวง (ออกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฯ) วืชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

30 7.ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยฯ
16/09/61 7.ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยฯ ช่วยป้องกันและควบคุมให้เกิดสภาพความปลอดภัย ลดอุบัติเหตุและโรคจากการทำงานทั้งรักษาชีวิตและทรัพย์สินของลูกจ้างและนายจ้าง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับการปฏิบัติที่เป็นธรรม ไม่ขัดต่อหลักมนุษยธรรม ช่วยลดความสูญเสียจากการทำงานและช่วยเพิ่มผลิต ลดรายจ่ายด้านการรักษาพยาบาล และบริการทางการแพทย์ ลดรายจ่ายของเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทน และรายจ่ายด้านประกันภัยต่างๆ สร้างขวัญกำลังใจแก่พนักงาน ทำให้องค์กรรักษาแรงงานที่มีประสิทธิภาพไว้ได้ ได้รับเครื่องหมายมาตรฐานด้านความปลอดภัย เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรและลดการกีดกันทางการค้า ช่วยลดผลกระทบทางสังคมที่อาจตามมา หลังประสบอันตรายจากการทำงาน วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>


ดาวน์โหลด ppt อาชีวอนามัย และความปลอดภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google