งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า
โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน

2 I สภาพการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประชาคมโลกในทศวรรษหน้า
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (CHANGE) โลกาภิวัตน์ (GLOBALIZATION) ความเป็นสากล ความเป็นนานาชาติ (INTERNATIONALIZATION) และการรวมกลุ่มประเทศเป็นประชาคม เป็นสังคมฐานความรู้ (KNOWLEDGE BASED SOCIETY) ใช้ความรู้และนวัตกรรม (INNOVATION) เป็นปัจจัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลง 1

3 I สภาพการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประชาคมโลกในทศวรรษหน้า
(ต่อ) เป็นสังคมข่าวสาร (INFORMATION SOCIETY) เทคโนโลยีสารสนเทศ (INFORMATION TECHNOLOGY) ช่วยให้โลกไร้พรมแดน (BORDERLESS WORLD) เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (LEARNING SOCIETY) ตลอดชีวิต ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นสังคมที่มีการแข่งขันสูง (COMPETITION) ต้องก้าวมั่น ทันโลก - แข่งขันได้ 2

4 II ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการอุดมศึกษาในปัจจุบันและอนาคต
มีการเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็ว (CHANGE) ในประชาคมโลก การแข่งขันที่เข้มข้น (COMPETITION) 3

5 การอุดมศึกษากับสังคม
ทุกสังคมต้องการ “การอุดมศึกษา” เพื่อพัฒนาคนให้เป็นพลเมืองดี มีอาชีพการงาน เป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้า คุณภาพของคน เป็นผลที่เกิดจากการศึกษาที่มีคุณภาพในทุกระดับและประเภท เพื่อให้สังคมพึ่งตนเองได้ พัฒนาได้และแข่งขันได้ III การอุดมศึกษากับสังคม การศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “การอุดมศึกษา” จึงเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนา ด้วยการ “สร้างคน” และ “สร้างความรู้” สู่ความเป็นเลิศ เพื่อเป็นปัจจัยและกลไกของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์ 4

6 IV ผลการจัดอุดมศึกษาในประเทศไทยในระยะที่ผ่านมา
สำเร็จเชิงปริมาณในระดับสูง การขยายโอกาสให้เป็นการศึกษาเพื่อมวลชน (MASSFICATION) ประเมินตามนโยบายและการตอบสนองความต้องการของรัฐและเอกชน สำเร็จเชิงคุณภาพและการตอบสนอง ความต้องการ ของรัฐและเอกชน ในระดับปานกลางและระดับต่ำ บัณฑิต การวิจัยและนวัตกรรม การขาดแคลนกำลังคนด้านช่างฝีมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันต่ำ 5

7 หลักฐานเชิงประจักษ์ด้านการขยายโอกาสอุดมศึกษาสู่มวลชน
การเพิ่มจำนวนสถาบันอุดมศึกษา V หลักฐานเชิงประจักษ์ด้านการขยายโอกาสอุดมศึกษาสู่มวลชน การเพิ่มจำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (ร้อยละต่อประชากรวัยอุดมศึกษา) 6

8 :173 แห่ง เพิ่มขึ้น 68 แห่ง 64.8% :105 แห่ง เพิ่มขึ้น 33 แห่ง 84.6%
2 แห่ง 5.3% เพิ่มขึ้น 5 แห่ง 18.5% เพิ่มขึ้น 20 แห่ง 100% เพิ่มขึ้น 8 แห่ง 800% :173 แห่ง เพิ่มขึ้น 68 แห่ง 64.8% :105 แห่ง 7

9 จำนวนสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
ช่วงเวลา มหาวิทยาลัยของรัฐ วิทยาลัยครู หรือมหาวิทยาลัยราชภัฎ สถาบัน/มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาลัยชุมชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวม ก่อน พ.ศ.2542 27 38 1 - 39 105 หลัง พ.ศ.2542 32 40 9 20 72 173 เพิ่มขึ้น 5 2 8 33 68 เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.5 5.3 800.0 100.0 84.6 64.8 8

10 32.9% 35.2% 39.1% 40.0% 40.8% 41.9% 44.2% 48.1% 47.7% 48.6% 50.1% 52.6% 51.4% 51.2% 9

11 ประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา นักศึกษาระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. ประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ร้อยละของนักศึกษา/ ประชากรวัยอุดมศึกษา ล้านคน ร้อยละ 2542 5.50 1.81 32.90 2543 5.40 1.90 35.20 2544 5.34 2.09 39.10 2545 5.38 2.15 40.00 2546 5.39 2.20 40.80 2547 5.37 2.25 41.90 2548 2.36 44.20 2549 5.29 2.34 48.10 2550 5.20 2.50 2551 5.09 2.43 47.70 2552 4.97 2.42 48.60 2553 4.85 50.10 2554 4.75 52.60 2555 4.73 51.40 2556 4.69 2.40 51.20 10

12 VI หลักฐานเชิงประจักษ์ ด้านคุณภาพ
ความสามารถในการแข่งขัน VI หลักฐานเชิงประจักษ์ ด้านคุณภาพ การจัดอันดับการศึกษาโลก การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 11

13 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปี ค.ศ.2013
การจัดอันดับของ International Institute for Management Development (IMD) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปี ค.ศ.2013 Economic Performance แต่ละปัจจัยหลักแบ่งเป็น 5 Sub-Factors รวม Sub-Factors แต่ละปัจจัยย่อยมีเกณฑ์ชี้วัด (Criteria) ปัจจัยหลักที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบ Competitiveness Factors Government Efficiency Business Efficiency Infrastructure สาธารณูปโภคพื้นฐาน เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม การศึกษา 3 12

14 ผลการจัดอันดับด้านการศึกษา ค.ศ.2012-2013
4 13

15  เทียบกับ IMD 2012 พบว่าทุกเกณฑ์ชี้วัดในปัจจัยย่อยด้านการศึกษาของ IMD 2013 ทั้ง 16 ตัว ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ลดลงถึง 13 ตัว ส่วนอีก 3 ตัว อยู่ในอันดับเท่าเดิม 5 14

16 การจัดอันดับดัชนี Pearson ปี 2014
(ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มสุดท้าย ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีคะแนนต่ำที่สุด) ตาราง 1 อันดับดัชนี Pearson 2014 จำแนกตามคะแนน Z-Score เป็น 5 กลุ่ม รายประเทศ 6 15

17 การจัดอันดับดัชนี Pearson ปี 2014 – 20 อันดับแรก
20 อันดับประเทศที่มีการศึกษาดีที่สุดในโลก ปี 2014 4 ใน 5 อันดับแรกเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค แผนภาพ 1 อันดับดัชนี Pearson อันดับแรก 7 16

18 การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา
โดย Times Higher Education World University Ranking 17

19 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 100 อันดับแรก
9 18

20  การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา
โดย University Ranking by Academic Performance (URAP) November 12, 2014 Number of Articles (Scientific Productivity) 21 % URAP Ranking เน้นการจัด อันดับคุณภาพทางวิชาการ (Academic Quality) โดยอาศัย 6 ตัวชี้วัด Citation (Research Impact) 21 % Total Document Count (Scientific Productivity) 10 % Article Impact Total (Research Quality) 18 % Citation Impact Total (Research Quality) 15 % International Collaboration (International Acceptance) 15 % 19

21  ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก TOP 2000 แห่ง ของ URAP แบ่งเป็น
กลุ่ม B+ ประมาณ 1000 แห่ง กลุ่ม B ประมาณ 500 แห่ง 20

22  URAP-University Ranking Academic Performance
World Ranking Thailand (17) World Ranking University Name Category 437 Mahidol University A 479 Chulalongkorn University 730 Chiang Mai University B++ 838 Khon Kaen University 880 Phramongkutklao College of Medicine 937 Prince Songkla University B+ 995 Kasetsart University 1073 King Mongkuts University of Technology Thonburi 1370 Thammasat University 1390 Suranaree University of Technology 1584 King Mongkuts University of Technology Ladkrabang B 1591 Asian Institute of Technology 1625 Naresuan University 1720 Srinakarinwirot University 1754 Mae Fah Luang University 1767 Mahasarakham University 1856 Silpakorn University 21

23 VII สรุป: เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ในประชาคมโลก อุดมศึกษาไทยในภาพรวมมีความสำเร็จเชิงปริมาณในระดับสูงด้านการขยายโอกาสให้เป็นการศึกษาเพื่อมวลชน (MASSIFICATION) แต่ยังด้อยคุณภาพและยังไม่ตอบสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศ ยังอ่อนด้อยด้านความสามารถใน การ “แข่งขัน” ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญของโลกในยุคปัจจุบันและอนาคต 22

24 อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า
โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน


ดาวน์โหลด ppt อุดมศึกษาในทศวรรษหน้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google