ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสมลักษณ์ หงสกุล ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การกำจัดน้ำเสียจากการขยายตัวของชุมชนเมืองด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ กรณีศึกษาเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น Wastewater management from urban growth using Geo-information Technology A case study at Amphoe Mueang, Khonkaen Province Project Advisor Asist. Prof. Dr. Nagon Watthakit Naticha Prompradid Fuangfa Chueasakon Sarat Rabalert Group 1
2
หลักการและเหตุผล การเติบโตของเมืองชุมทางในปัจจุบันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางบวก เชิงพื้นที่ จึงเป็นที่สนใจว่าการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดความทันสมัยมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร จึงได้อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นมาเป็นกรณีศึกษาใน สิ่งแวดล้อมทางด้านแหล่งน้ำในชุมชน ว่ามีการเกิดผลเสียอย่างไร เช่น การเกิด น้ำเน่าเสีย หรือมลพิษทางน้ำ ซึ่งอาจกระทบกับสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ และผู้คนที่ อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น นับเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่ง ในภาคอีสาน การวิจัยนี้จึงได้ทำการวิเคราะห์การขยายตัวของ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้ระยะไกลจากภาพถ่ายดาวเทียม 2 ภาพ 2 ปี เปรียบเทียบความสัมพันธ์กับข้อมูลการเพิ่มขึ้นของประชากร ก่อให้เกิดผลเสียกับทรัพยาการน้ำบริเวณบึงแก่นนครอันเนื่องมาจากการปล่อยน้ำ ทิ้งในพื้นที่เพื่อการวางแผนการจัดการน้ำเสีย โดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ศาสตร์วิเคราะห์ร่วมกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการตั้งบ่อ บำบัดน้ำเสีย แบบบ่อปรับเสถียรในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
3
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
เพื่อวางแผนการจัดการผลเสียซึ่งมีผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำบริเวณเทศบาล ตำบลศิลา ขอบเขตและข้อจำกัดของการวิจัย ขอบเขตของงานวิจัย พื้นที่ศึกษาได้ทำการเลือกศึกษาเฉพาะเขตพื้นที่ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ข้อจำกัดของงานวิจัย ใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม THEOS 2 ภาพ 2 ปี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
4
วิธีดำเนินการวิจัย 1.3 การวิเคราะห์ขนาดบ่อปรับเสถียร จะใช้ ค่าพารามิเตอร์ในการออกแบบบ่อปรับเสถียรและการ ออกแบบระบบบำบัดน้ำ 1.4 นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ขนาดบ่อปรับเสถียร การคำนวณปริมาณการใช้น้ำเสียโดยอ้างอิงจาก หนังสือ”ค่ากำหนดการออกแบบระบบน้ำเสีย” 1. ปริมาณการใช้น้ำเสีย 2. อัตราภาระบีโอดี 3. ความลึกของบ่อ 1.5 การวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะสมสำหรับสร้างบ่อ บำบัดน้ำเสีย โดยมีการจำแนกข้อมูลเพื่อหาพื้นที่ที่ เหมาะสมมีปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 7 ปัจจัย คือ การซึมซาบน้ำของดิน ประเภทเนื้อดิน น้ำใต้ดินและความลาดชัน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดเราจะกำหนดเป็นพื้นที่กันออก ประกอบด้วย ชุมชน แหล่งน้ำ ถนน วิธีการการวิเคราะห์ 1.1 วิเคราะห์การขยายตัวของสิ่งปลูก สร้าง นำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมทำการแปล ตีความด้วยวิธี classify ในโปรแกรม ERDAS IMAGINE โดยใช้เทคนิค Supervised แบบ Maximum Likelihood กำหนดประเภทการใช้ ที่ดินเป็น 3 ประเภท คือ พื้นที่ปลูกสร้าง พื้นที่ แหล่งน้ำ และพื้นที่อื่นๆ จากนั้นนำผลที่ได้จาก การแปลตีความภาพถ่ายทั้งสองปีมาเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงในโปรแกรม ArcGIS และ คำนวณการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ของสิ่งปลูกสร้าง 1.2 การวางแผนการจัดการน้ำเสียด้วยระบบบ่อปรับเสถียร
5
ข้อมูลในการทำโครงการวิจัย
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ArcGIS 10.1 โปรแกรม PCI โปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม ERDAS IMAGINE ตารางแสดงการรวบรวม ข้อมูล ลำดับที่ รายการข้อมูล หน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูล 1 ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมTHEOS สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2 ข้อมูลประชากรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น 3 ข้อมูลขอบเขตการปกครอง ศูนย์ภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 5 ข้อมูลแหล่งน้ำ แปลตีความจากภาพถ่าย THEOS 6 ข้อมูลสิ่งปลูกสร้างอาคารในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 7 ข้อมูลถนน
6
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถวางแผนเพื่อจัดการผลเสียที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สามารถวางแผนการสร้างบ่อปรับเสถียรและระบบบำบัดน้ำเสียให้แก่ชุมชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น END THANK YOU _/|\_
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.