งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559

2 กำหนดทิศทาง องค์กร (Set Direction) พัฒนายุทธศาสตร์ (Develop Strategies) ถ่ายทอดแผน ยุทธศาสตร์สู่การ ปฏิบัติ (Align Processes) การนำแผน ยุทธศาสตร์ไป ปฏิบัติ (Deploy the Plan) ประเมินผล และ ปรับปรุง (Evaluation & Improve) การวางแผนยุทธศาสตร์  ประเด็นยุทธศาสตร์  เป้าประสงค์  ตัวชี้วัด เป้าหมาย  กลยุทธ์ (SWOT)  ถ่ายทอดตัวชี้วัดและ เป้าหมาย  สื่อสารกลุ่มเป้าหมาย  แผนปฏิบัติการ  งบประมาณ  บริหารความเสี่ยง  บริหารโครงการ  ปรับปรุง กระบวนการทำงาน  บริหารการ เปลี่ยนแปลง  นิเทศ ติดตาม  การรายงาน  การประชุม  วิสัยทัศน์ (SWOT)  พันธกิจ  วัฒนธรรมองค์กร

3 1. การกำหนดทิศทางองค์กร (Set Direction) วิสัยทัศน์  กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพ และระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี พันธกิจ  ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและ ออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน วัฒนธรรมองค์กร  HEALTH

4 มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. ประชุม คอก.และ คทง.นำเสนอ -กรอบความ เชื่อมโยงของแผน -กรอบแนวทางการ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ฯ -แผนต่างๆ ที่มีอยู่ ภายในหน่วยงาน (29 มี.ค.59) 2 ประชุมผู้เกี่ยวข้อง (Working Group) หารือแนวทาง/วิธีการ/ เครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ (4 เม.ย.59) ชี้แจงกรอบแนวทางการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ในที่ประชุมกรม อนามัยเพื่อให้หน่วยงาน เตรียมการวางแผนรองรับ (11 เม.ย.59) 5 ประชุม คทง. ติดตามความ คืบหน้าการจัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (12 เม.ย.59) 6 4 ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้า และพิจารณาให้ ความเห็นต่อ ข้อมูลในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (24 พ.ค.59) 11 ประชุม คอก. และ คทง. ติดตาม ความก้าวหน้า และพิจารณา ให้ความเห็น ต่อร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (21 มิ.ย.59) 13 ประชุม คทง. ติดตามความคืบหน้า การจัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ ประชุม คอก. ติดตาม ความคืบหน้าการ จัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ 15 17 ประชุมคณะ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ฯ (9 ส.ค. 59) 20 16 ประชุม คทง. + Cluster พิจารณาข้อเสนอประเด็น ยุทธศาสตร์ของแต่ละ Cluster (22 เม.ย.59) 7 แต่งตั้งคณะจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ สส. และ อวล. กรมอนามัย พ.ศ.2560-2564 (คำสั่งที่ 205/2559 ลว 4 มี.ค.59) ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้าและ พิจารณาให้ ความเห็นต่อข้อมูล ในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (26 เม.ย.59) จัดประชาพิจารณ์ (26 ก.ค.59) ประกาศและสื่อสารแผนยุทธศาสตร์ฯ หน่วยงานนำแผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ -ถ่ายทอดตัวชี้วัด -จัดทำ Action Plan -บริหารความเสี่ยงโครงการ สำคัญ 1 3 แต่งตั้งคณะจัดทำ แผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาระบบ สส. และ อวล.ตาม แผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติฯ (คำสั่งที่ 345/2559 ลว 1 เม.ย.59) จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 8 9 12 14 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 18 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 19 21 22 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 10 อธิบดีอนุมัติแผนปฏิบัติการ และแผนการใช้จ่าย งบประมาณกรมอนามัย 23 2. การพัฒนายุทธศาสตร์ (Develop Strategies)

5 เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริม สุขภาพและระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชน สุขภาพดี ประชาชนสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายและ เจ้าหน้าที่มี ความสุข ระบบอนามัย ยั่งยืน (สส. และ อวล.) ระบบอนามัย ยั่งยืน (สส. และ อวล.) ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดู ภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการ ประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแล เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน P & P Excellence Service Excellence 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความ เข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชน อย่างยั่งยืน 2. สร้างความ เข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชน อย่างยั่งยืน 3. อภิบาลระบบ ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่ องค์กรที่มีสมรรถนะ สูงและมีธรรมาภิบาล 1.1 ส่งเสริม การเกิดและ เติบโต คุณภาพ 1.2 ส่งเสริม เด็กวัยเรียนให้ แข็งแรงและ ฉลาด 1.3 ส่งเสริม พฤติกรรมอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสมสำหรับ วัยรุ่น 1.4 ส่งเสริม พฤติกรรม สุขภาพวัยทำงาน ที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริม ผู้สูงอายุไทย เพื่อเป็นหลักชัย ของสังคม - อัตราส่วน มารดาตาย ต่อการเกิด มีชีพแสน คน - ร้อยละของ เด็ก 0-5 ปี ที่มี พัฒนาการ สมวัย - ร้อยละของ เด็กอายุ 0- 5 ปี สูงดีสม ส่วน และ ส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ 5 ปี - ร้อยละของ เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็ก อายุ 14 ปี มีส่วนสูง เฉลี่ยตาม เกณฑ์ - ร้อยละการ ตั้งครรภ์ซ้ำใน หญิงอายุน้อย กว่า 20 ปี - ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสม ส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ย ตามเกณฑ์ และ ฟันไม่ผุ - ร้อยละของวัย ทำงานอายุ 30-44 ปี มี ดัชนีมวลกาย ปกติ - ร้อยละของ กลุ่ม ผู้สูงอายุ มี ฟันแท้อย่าง น้อย 24 ซี่ - ร้อยละของภาคี เครือข่ายภาครัฐที่ นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของ กรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจน ได้มาตรฐานตาม เกณฑ์ที่กำหนด - ร้อยละความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่าย ภาครัฐที่นำสินค้าและ บริการ (Product Champion) ของกรม อนามัยไปใช้ 19) การผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) 18) จำนวนงานวิจัยและ นวัตกรรมที่ถูก นำไปใช้ประโยชน์ ระดับนโยบาย (กระทรวง)และกลไก การขับเคลื่อน นโยบาย (เขต สุขภาพ) 20) คะแนนการประเมิน ระดับคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการ ดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. - ร้อยละของหน่วย บริการจัดการมูล ฝอยติดเชื้อได้ อย่างถูกต้องตาม หลักวิชาการ People Excellence People Excellence Governance Excellence Governance Excellence - ร้อยละตำบล ที่มีระบบ ส่งเสริม สุขภาพดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการและ ผู้ด้อยโอกา สและการ ดูแลระยะ ยาว(Long Term Care) ใน ชุมชน ผ่าน เกณฑ์ - ร้อยละของ เด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ - ร้อยละของ โรงพยาบาลที่ พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ตาม เกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital P P I I R R A A -ตำบลมีชุมชนที่มี ศักยภาพ* ในการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมใน ชุมชน อย่างน้อย ตำบลละ 1 ชุมชน -ตำบลมีชุมชนที่มี ศักยภาพ* ในการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมใน ชุมชน อย่างน้อย ตำบลละ 1 ชุมชน B B - อัตราการคลอด มีชีพในหญิง อายุ 15-19 ปี ต่อประชากร หญิงอายุ 15-19 ปี พันคน HEAL TH

6 1. Promotion & Prevention Excellence 2. Service Excellence 1. Promotion & Prevention Excellence แผนงานที่ 1 : พัฒนาคุณภาพชีวิต คนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) แผนงานที่ 2 : การป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ (Service Plan) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพ สถานบริการ 1. โครงการเตรียม ความพร้อมสู่การ ตั้งครรภ์เพื่อลูก คุณภาพ Lag : 1) อัตราส่วนมารดา ตาย ไม่เกิน 15 ต่อ การเกิดมีชีพ แสนคน 2) ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการ สมวัย 3) ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี สูงดีสม ส่วน และส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 3. โครงการ สร้างเสริม ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ และพฤติกรรม สุขภาพที่พึง ประสงค์ของ คนไทย เพื่อ ลดการพึ่งพิง บริการ 1. ประชากร ไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรม ทางกาย เพียงพอต่อ สุขภาพ 2. แปรงฟัน 222 : ร้อยละผู้ ไม่มีฟันผุ (Cavity fee) 11. โครงการ การดูแลผู้ป่วย ระยะยาว (Long Term Care) และ การรักษา แบบ ประคับประคอง (palliative care) Lead : 1) ร้อยละหน่วยบริการที่ จัดบริการสุขภาพช่อง ปากพร้อมมูลใน 3 กลุ่ม วัย : เด็กเล็ก ประถมศึกษา และ มัธยมต้น Lag : 1) ร้อยละของกลุ่ม ผู้สูงอายุมีฟันแท้อย่าง น้อย 24 ซี่ Lag : 1) ร้อยละตำบลที่มี ระบบส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสและ การดูแลระยะยาว(Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ 1.โครงการ บริหารจัดการ ขยะและ สิ่งแวดล้อม Lead : 1) ร้อยละของ หน่วยบริการ จัดการมูลฝอยติด เชื้อได้อย่าง ถูกต้องตามหลัก วิชาการ 2) ร้อยละของ โรงพยาบาลที่ พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 2. โครงการพัฒนา และสร้างเสริม ศักยภาพคนไทย กลุ่มวัยเรียน แข็งแรงและฉลาด และมีพฤติกรรมที่ เหมาะสม Lag : 2) ร้อยละของเด็กวัย เรียน สูงดีสมส่วน 5) ร้อยละการ ตั้งครรภ์ซ้ำในหญิง อายุน้อยกว่า 20 ปี 2. โครงการ คุ้มครองสุขภาพ ประชาชนจาก มลพิษ สิ่งแวดล้อมใน พื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) Lag : 1) จำนวนจังหวัด ที่มีระบบจัดการ ปัจจัยเสี่ยงจาก สิ่งแวดล้อมเพื่อ สุขภาพอย่าง บูรณาการมี ประสิทธิภาพและ ยั่งยืน 3.โครงการพัฒนา และสร้างเสริม ศักยภาพพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสม ของคนไทยกลุ่ม วัยทำงาน Lead : 1) ร้อยละของ ประชากรวัยทำงานมี ค่าดัชนีมวลกายปกติ โครงการและตัวชี้วัดภายใต้แผนงานตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. ที่กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก โครงการและตัวชี้วัดภายใต้แผนงานตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. ที่กรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก

7 โครงการและตัวชี้วัดภายใต้แผนงานการตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. ที่กรมอนามัยมีส่วนเกี่ยวข้อง โครงการและตัวชี้วัดภายใต้แผนงานการตามแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. ที่กรมอนามัยมีส่วนเกี่ยวข้อง 4. Governance Excellence แผนงานที่ 13 : ระบบ ข้อมูลสารสนเทศและ กฎหมายด้านสุขภาพ แผนงานที่ 16 : ระบบธรรมาภิบาลและวิจัย 3. โครงการ พัฒนา กฎหมาย สุขภาพ Lag : 1) ร้อยละของ กฎหมายที่ควร ปรับปรุง ได้รับ การแก้ไข 1.โครงการ ประเมิน คุณธรรม และความ โปร่งใส Lead : 1) ร้อยละของ หน่วยงานใน สังกัดกระทรวง สาธารณสุขผ่าน เกณฑ์การประเมิน ITA 3. โครงการสร้าง องค์ความรู้และการ จัดการความรู้ด้าน สุขภาพ และจัดทำ มาตรฐานการ ปฏิบัติงานวิจัย (SOPs) ใน หน่วยงาน Lead : 1) ร้อยละองค์ความรู้/ ผลงานวิจัยด้าน สุขภาพที่เผยแพร่ให้ หน่วยงานต่าง ๆ นำไปใช้ประโยชน์ 2) ระดับความสำเร็จ ของหน่วยงานที่มี คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยใน มนุษย์มีการ ดำเนินงานจัดทำ มาตรฐานการปฏิบัติ งานวิจัย (SOPs) ใน หน่วยงาน 2.ระบบ ควบคุม ภายในและ บริหารความ เสี่ยง Lead 1) ร้อยละของ หน่วยงานภายใน กระทรวง สาธารณสุขผ่าน เกณฑ์การประเมิน ระบบการควบคุม ภายใน

8 4. การนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ (Deploy the Plan) 3. ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์สู่การ ปฏิบัติ (Align Processes) 5. การประเมินผล และปรับปรุง (Evaluation & Improve 5. การประเมินผล และปรับปรุง (Evaluation & Improve

9 กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) บุคคล (Individual Scorecard) บุคคล (Individual Scorecard) เป้าประสงค์ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่และภารกิจ ของหน่วยงานที่สนับสนุน ต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับ Cluster บทบาทหน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของหน่วยงาน งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ เป้าประสงค์ระดับบุคคล บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่ สนับสนุนต่อเป้าประสงค์ และตัวชี้วัดของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่งานของ บุคคล (Job Description) งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ กลไกการถ่ายทอด 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) เป้าประสงค์ของ 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน บทบาทหน้าที่ของ Cluster และกลุ่ม สนับสนุน ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับกรม งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ กรมอนามัย (Department Scorecard) กรมอนามัย (Department Scorecard) เป้าประสงค์ของกรม นโยบายระดับชาติ ระดับ กระทรวง ระดับกรม ภารกิจ และพันธกิจตาม กฎหมาย  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง กรมกับกระทรวง  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง Cluster กับกรม  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง หน่วยงานกับ Cluster  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำใบมอบหมายงาน ระหว่างบุคคลกับหน่วยงาน  ประเมินผลการปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 9

10 Action Plan  DOC การจัดทำแผนปฏิบัติการ Agenda Project Functional Project โครงการตาม ภารกิจ/โครงการ ปกติของหน่วยงาน โครงการตาม ยุทธศาสตร์ โครงการที่ได้รับ มอบหมายพิเศษ แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. แผนยุทธศาสตร์ฯ กรมอนามัย โครงการสำคัญตาม นโยบายรัฐบาล/ กระทรวง/กรม 35 หน่วยงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภารกิจ/พันธกิจ กรมอนามัย ทรัพยากร บริหาร ความเสี่ยง ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560-2564

11 ใบมอบหมายงาน การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ระดับบุคคล Action Plan  DOC โครงการตามภารกิจ/โครงการ ปกติของหน่วยงาน โครงการตามยุทธศาสตร์ โครงการที่ได้รับมอบหมาย พิเศษ หน่วยงาน ตัวชี้วัดและเป้าหมายงาน ตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย งานประจำ ตัวชี้วัดงานและเป้าหมาย ที่ได้รับมอบหมายพิเศษ บุคคล ประเมินผลการปฏิบัติราชการ

12 กลุ่มเป้าหมายรูปแบบการสื่อสารความถี่1-way2-way ส่วนกลาง ผู้บริหาร  ประชุมกรม  ประชุมการบริหารยุทธศาสตร์  ประชุมผู้บริหารหน่วยงานส่วนกลาง  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ 1 ครั้ง/เดือน ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ นักวิชาการ  ประชุมหน่วยงาน  ประชุมการบริหารยุทธศาสตร์  ประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ ตามนโยบายของหน่วยงาน 1 ครั้ง/เดือน 1 ครั้ง/2 เดือน ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ พนักงานราชการ/ ลูกจ้าง  ประชุมหน่วยงาน  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ ตามนโยบายของหน่วยงาน ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ

13 กลุ่มเป้าหมายรูปแบบการสื่อสารความถี่1-way2-way ส่วนภูมิภาค ผู้บริหาร  ประชุมกรม  การนิเทศ ติดตาม  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ 1 ครั้ง/เดือน 2 ครั้ง/ปี ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ นักวิชาการ  ประชุมหน่วยงาน  ประชุมการบริหารยุทธศาสตร์  ประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ (Web conference)  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ ตามนโยบายของหน่วยงาน 1 ครั้ง/เดือน 1 ครั้ง/2 เดือน ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ พนักงานราชการ/ ลูกจ้าง  ประชุมหน่วยงาน  Website หน่วยงาน  Internet  Intranet  E-mail  Line  Facebook  หนังสือราชการ ตามนโยบายของหน่วยงาน ตามความต้องการ ตลอดเวลา ตามความต้องการ

14 งบประมาณ แผนงบประมาณ จัดสรร lump-sum สถานการณ์ แผนงาน/ โครงการ หน่วยงาน ปรับโครงการให้ สอดคล้องกับเป้าหมาย ที่กรมกำหนด ไม่กำกับติดตามประเมินผลเข้มข้น

15 แผนงานตามโครงสร้างงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย จำนวน 8 แผนงาน (บูรณาการ 5 แผนงาน /ยุทธศาสตร์ 1 แผนงาน/ พื้นฐาน 1 แผนงาน / บุคลากรภาครัฐ 1 แผนงาน) แผนงานตามโครงสร้างงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย จำนวน 8 แผนงาน (บูรณาการ 5 แผนงาน /ยุทธศาสตร์ 1 แผนงาน/ พื้นฐาน 1 แผนงาน / บุคลากรภาครัฐ 1 แผนงาน) 1) แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 2) แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 3) แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาด้านสาธารณสุขและสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก 4) แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 5) แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 6) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 7) แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 8) แผนงานบุคลากรภาครัฐ

16 ผลกระทบ: การไม่ใช้งบประมาณตามแผนงานโครงสร้าง งบประมาณรายจ่าย 1) เป้าหมาย (KPI) ได้ไม่ตรงกับ ขาวคาดแดงที่ตกลงกับสำนักงบประมาณ 2) ถูกทักท้วงจาก สตง. และต้องชี้แจงเพราะผิดวินัยการเงินการคลัง อาจต้องคืนเงิน 3) รายการงบประมาณไม่สอดคล้องตามแผน จะมีผลกับงบประมาณปีต่อไป 4) สำนักงบฯ พิจารณาตัดงบประมาณได้เนื่องจากกิจกรรม/ผลผลิตไม่เป็นตามตกลง 5) ผลการดำเนินงานขาดประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามที่รัฐบาลกำหนด

17 การติดตามและประเมินผล กรมอนามัย การติดตาม (Monitoring) การติดตาม (Monitoring) การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผล (Evaluation) การรายงาน การประชุม การตรวจราชการ และนิเทศงาน e-report -DOC -Data Center -GFMIS Manual โครงการ ตามที่ กำหนด ระดับ กระทรวง - KPI กระทรวง ระดับกรม -KPI กรม -โครงการ สำคัญ -การใช้จ่าย งบประมาณ รายเดือน รายไตรมาส รายสัปดาห์ 2 ครั้ง/ปี ประชุม ติดตาม ผลรอบ 6 และ 12 เดือน -ประชุมรอง อธิบดี -ประชุม หน่วยงาน ส่วนกลาง -ประชุมกรม อนามัย -ประชุม ผู้ทรงคุณวุฒิ /ผู้เชี่ยวชาญ -ประชุม ยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง/ปี ประเมิน ประจำปี ประเมิน ระยะกลาง แผน ประเมิน ระยะสิ้นสุด แผน ประเมิน ประจำปี ประเมิน ระยะกลาง แผน ประเมิน ระยะสิ้นสุด แผน ศึกษาวิจัย สำรวจ จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินโครงการ ตามที่กำหนด ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ตามความเหมาะสม ของงาน ประเมินแผน ยุทธศาสตร์ การติดตามและ ประเมินผล

18 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google