งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน

2 แผนส่งเสริมด้านการตลาดสินค้า อินทรีย์  สนับสนุนให้มีศูนย์รวบรวมและจำหน่ายสินค้า อินทรีย์  ส่งเสริมให้มีหมู่บ้านอินทรีย์ (Organic Village)  กิจกรรมเชื่อมโยงตลาดในและต่างประเทศ  ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ กระตุ้นการ บริโภค

3 การพัฒนาหมู่บ้านอินทรีย์ Organic Village ปลูกพืชนานาชนิด เลี้ยงสัตว์ ควบคุมโดยระบบ Participatory Guarantee System:PGS หรือระบบ มาตรฐานอินทรีย์ที่กำหนด แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่าย เช่น อาหารแปรรูป เครื่องสำอาง และอื่น ๆ Organic Farm Outlet วัตถุประสงค์ - เป็นสถานที่รองรับสินค้าเกษตร อินทรีย์สดและแปรรูป และกระจาย จำหน่าย รูปแบบการดำเนินการ - เกษตรกรนำสินค้ามาจำหน่ายเอง หรือฝากขาย - มีผู้บริหารจัดการศูนย์ฯ ดูแล ตลาดในประเทศ -ผู้บริโภคทั่วไป -ร้านอาหาร -ห้างสรรพสินค้า -โรงแรม -โรงพยาบาล -พัฒนาให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร การส่งเสริมและสนับสนุน - สนับสนุนบรรจุภัณฑ์ - จัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่าย - การเชื่อมโยงสินค้าระหว่างศูนย์ฯ และสถานที่ อื่น ๆ - จัดงานจำหน่ายสินค้าตามเทศกาลต่าง ๆ - รณรงค์เพิ่มการบริโภค - ถ่ายทอดความรู้เชิงปฏิบัติการให้เกษตรกร - จัดอบรมศึกษาดูงานการแปรรูปสินค้า - สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่ออำนวยความ สะดวกในการจำหน่าย -จัดประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ เช่น คู่มือ ท่องเที่ยวหมู่บ้านเกษตรอินทรีย์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกษตรกร : ต้นทุนลด รายได้เพิ่ม มีสถานที่จำหน่ายสินค้า ผู้บริโภค : บริโภคสินค้าปลอดภัย ซื้อได้ในราคายุติธรรม ภาครัฐ : ชุมชนเข้มแข็งประชาชน มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดปัญหาการแทรกแซง ของภาครัฐ เป้าหมายปี 2559 นครปฐม เพชรบุรี สุรินทร์ น่าน เพชรบูรณ์ ตลาดต่างประเทศ -จำหน่ายไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก การจัดหาตลาด

4 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 ศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชน (Farm Outlet) วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรมีสถานที่จำหน่ายสินค้า มีการเพิ่ม มูลค่าผลผลิต เพิ่มช่องทางการจำหน่าย และสร้างรายได้ให้แก่ เกษตรกรเพิ่มขึ้น เป้าหมาย พัฒนาและส่งเสริมให้มีศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชน (Farm Outlet) ทุกจังหวัดทั่วประเทศ หลักเกณฑ์การคัดเลือกสถานที่ดำเนินการ 1.แหล่งผลิต/แหล่งท่องเที่ยว/แหล่งบริโภค 2.มีการจำหน่ายสินค้าเกษตร เกษตรแปรรูป โดย เกษตรกรรวมกลุ่มกันขาย/ เกษตรกรนำมาฝากขาย และมีผู้ดูแลบริหารจัดการ 3.พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ของราชการ หรือ เอกชนที่ให้ความร่วมมือ 4.การคมนาคมสะดวกและมีที่จอดรถเพียงพอ การส่งเสริมและพัฒนาศูนย์ฯ 1.สร้างตราสัญลักษณ์สินค้าและสนับสนุนบรรจุภัณฑ์ 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่าย 3.การเชื่อมโยงสินค้าระหว่างศูนย์ฯ และสถานที่อื่น ๆ 4.จัดงานจำหน่ายสินค้าตามเทศกาลต่าง ๆ 5.รณรงค์เพิ่มการบริโภค 6.ถ่ายทอดความรู้เชิงปฎิบัติการให้เกษตรกร เพื่อพัฒนาการผลิต สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพ 7.จัดอบรมศึกษาดูงานการแปรรูปสินค้า เพื่อนำมาพัฒนาศูนย์ฯ 8.สนันบสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่ออำนวยความสะดวกในการจำหน่าย 9.จัดประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่าง ๆ 10. อื่น ๆ ตามที่เหมาะสม แต่มิใช่ครุภัณฑ์ 8 1 20 จังหวัด 31 แห่ง 1 1 ข้อมูล ณ 30 ธ. ค.58 2 โลโก้ Farm Outlet 1 3 1 1

5

6 พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือสร้างสัมมาชีพ เต็มพื้นที่ โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่เศรษฐกิจฐานรากที่ ยั่งยืน วันพุธที่ 13 มกราคม 2559 ณ ศูนย์การ ประชุมแห่งชาติสิริกิต์


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google