ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุเมธ ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด42292026033,887 ขอนแก่น82482247833,600 มหาสารคาม41751423919,524 กาฬสินธุ์4156 5418,545 รวม20808724231105,556 แหล้งที่มา : เอกสารประกอบการตรวจราชการนิเทศกรณีปกติ รอบที่ ๒ หมายเหตุ : มาตรฐานการดำเนินงานสุขศาลา / ศสมช. ประกอบด้วย 5 หมวด ได้แก่ (1) หมวดโครงสร้างอาคารและสถานที่ (2) การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วม (3) การจัดบริการเชิงรุกและเชิงรับ (4) วิชาการ(ข้อมูลสุขภาพ) (5) ผลลัพธ์การพัฒนาสุขภาพ
2
คณะกรรมการ DHS,PCA ระดับเขต, จังหวัด ถ่ายทอดนโยบาย ตัวชี้วัด CUP, DHS พัฒนาทีม Appreciate พัฒนาวิทยากรพี่เลี้ยง อสม. ระดับอำเภอ พัฒนาระบบบริการ รพ. สต. พัฒนา อสม. คร., ศอ., ศจ, สบส. - กลุ่มวัย - สิ่งแวดล้อม -OV - ฯลฯ สนับสนุน ติดตาม หนุนเสริม ให้ กำลังใจ ประกวด สุขศาลา / ศสมช./ ศาลาสุขภาพ จัดบริการ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีระบบส่งต่อที่เหมาะสม แผนสุขภาพ ชุมชน กองทุน สุขภาพ ฯอปท. ผู้นำ -Templet - แนวทางการขับเคลื่อน - ฐานข้อมูล Family care team DHS คู่มือ, งบฯ, วิชาการ ตำบลจัดการสุขภาพ 11-12 ธค.57 มีค.- พค.58 แนวทางการบูรณาการงานสุขภาพภาคประชาชนและปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ ๗ 13 พย.57 SRM/ ค่ากลาง บูรณาการโครงการ
4
สถานการณ์การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปี ๒๕๕๘ ตำบลจัดการสุขภาพ มีตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดีเยี่ยม จำนวน 187 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 28.37 ของตำบลทั้งหมด อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในปีงบ ฯ ได้ดำเนินการพัฒนาศักยภาพ อสม.จำนวน ๒๕๒๐๘ คน (ด้านการจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย) คิดเป็นร้อยละ 23.88 ศสมช./ สุขศาลา / ศาลาสุขภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างน้อย ๓ หมวด จำนวน 231 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 9.90 ของจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ร้อยเอ็ดขอนแก่นมหาสารคมกาฬสินธุ์ 59 ตำบล 49 ตำบล 35 ตำบล 44 ตำบล
5
จุดเด่นการดำเนินงานของจังหวัด ขอนแก่น : บูรณาการงานปฐมภูมิ ตำบลจัดการสุขภาพ สุขศาลา อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง, NCD คุณภาพ มหาสารคาม : บูรณาการงานปฐมภูมิ ตำบลจัดการสุขภาพ สุขศาลา CUP คืนข้อมูลให้ปฐมภูมิ ประชาคมสุขภาพ (SRM) ร้อยเอ็ด : บูรณาการงานตำบลจัดการสุขภาพ, สุขศาลา, งานสุขศึกษา, NCD CUP คืนข้อมูลให้ปฐมภูมิ วางแผนสุขภาพชุมชน กาฬสินธุ์ : ยุทธศาสตร์3 ดี การพัฒนาศักยภาพ อสม. ที่ต่อเนื่อง
6
1.พื้นที่ต้นแบบการจัดการสุขภาพ : การจัดการโรคเรื้อรังในชุมชน ตำบลหนองอีบุตร อ.ห้วยผึ้ง จ.กาฬสินธุ์ : กลุ่มเสี่ยงลดลงและอุบัติการณ์โรคเบาหวาน – ความดันโลหิตสูงลดลง (3 ปี) ตำบลยางใหญ่ อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม กลุ่มเสี่ยงลดลงและอุบัติการณ์โรคเบาหวาน – ความดันโลหิตสูงลดลง ตำบลกุดใส้จอ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มเสี่ยงลดลง ตำบลหนองตาไก้ อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด กลุ่มเสี่ยงลดลง ตำบลดงเค็ง อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.อสม.มีการสื่อสารในการส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบทีมหมอ ครอบครัว และ กลไกสุขศาลา (231 หมู่บ้าน) ผลงาน
7
ศาลาอนามัยส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพและสุขศาลา จังหวัดมหาสารคาม CUP เมือง คืนข้อมูล ประชาคมสุขภาพ (SRM) เครือข่ายสุขภาพแสดงบทบาท ในการดูแลสุขภาพชุมชน สุขศาลาผ่าน มาตรฐาน 39 แห่ง (100 % ) ตำบล จัดการผ่าน มาตรฐาน ระดับดีขึ้น ไป 28 ตำบล (37.84 % ) ความต่อเนื่องของสุขศาลา รพ. สต. อปท. หมอชุมชน (อสม.) หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
8
การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพและ ศสมช. จังหวัดร้อยเอ็ด CUP พนมไพร หนองพอก เมืองสรวง ประชาคมสุขภาพ เครือข่ายสุขภาพแสดงบทบาท ในการดูแลสุขภาพชุมชน สุขศาลา ผ่าน มาตรฐาน 60 แห่ง (100 % ) ตำบลจัดการ ผ่านมาตรฐาน ระดับดีขึ้นไป 73 ตำบล (70.19 % ) ความต่อเนื่องของ ศสมช. รพ. สต. อปท. อสม. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คืนข้อมูล ศสมช. แผนสุขภาพ ตำบล / หมู่บ้าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.