ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอภิญญา พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน การดำเนินการตามคำ รับรองการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2558 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2
แนวทางการขับเคลื่อนการทำงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2559 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา Dr. William Edwards Deming ได้พัฒนา วงจร PDCA ตั้งแต่ ปี พ. ศ. 2493 และได้ถูกนำมาใช้ถึงปัจจุบัน 1. วาง แผนการ ดำเนินงาน 2. การลง มือปฏิบัติ 3. การ ติดตาม งาน 4. การ ประเมินและ รายงานผล PLAN DOCHECK ACT 2
3
Plan : 1. การวางแผนการ ดำเนินงาน บันทึกเสนอ ผอ. เขต รับทราบ แต่งตั้งคณะทำงาน รับผิดชอบ คณะทำงานตัวชี้วัด KRS, ARS คณะทำงานตัวชี้วัด KRS - ผอ. สพท. ที่ปรึกษา - รอง ผอ. ประธานคณะทำงาน - ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดคณะทำงาน - ผอ. กลุ่มที่รับผิดชอบ KRS คณะทำงานและเลขาฯ คณะทำงานตัวชี้วัด ARS - ผอ. สพท. ที่ปรึกษา - รอง ผอ. ( ด้านแผนฯ ) ประธานคณะทำงาน - ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดคณะทำงาน - ผอ. กลุ่มที่รับผิดชอบ ARS คณะทำงานและเลขาฯ ควรดำเนินการให้เสร็จ สิ้นภายในเดือนมีนาคม 2559 3
4
จัดประชุมปฏิบัติการคณะทำงาน โดยพิจารณาประเด็นดังนี้ มอบหมายภารกิจตามตัวชี้วัด แจ้งระยะเวลาที่จะมีการรายงานผลและติดตามประเมินผล พูดคุยถึงปัญหา อุปสรรค จุดแข็ง ของการดำเนินการในปีที่ผ่าน มา สร้างความเข้าใจวิธีการรายงาน เช่น การรายงานผ่านโปรแกรม ระบบ KRS, ARS, AMSS, Datacenter ( สนผ.), GFMIS ( สคส.), ฐานข้อมูลการรายงานจุดเน้น ออนไลน์ (Triple A) ( สวก.), Labschool ( สนก.) ฯลฯ ทำข้อตกลงเกี่ยวกับการกระจายงานและขอบข่ายความ รับผิดชอบ Do : 2. การลงมือปฏิบัติ ระดับ สพท. 4
5
ระดับสถานศึกษา : การแจ้งสถานศึกษา ให้รับทราบ เพื่อให้สถานศึกษาตระหนักในการดำเนินการ ควรจัดทำคำรับรองเพื่อให้ ผอ. สพท. ลงนามร่วมกับ ผอ. สถานศึกษา กำหนดประเด็นหลักที่มีผลการดำเนินการย้อนหลังไม่ ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เช่น นักเรียนเข้าเรียน / ออกกลางคัน / จบ ผลสัมฤทธิ์นักเรียน การประกัน คุณภาพภายนอก - ภายใน ฯลฯ Do : 2. การลงมือปฏิบัติ ระดับ สถานศึกษา 5
6
กำหนดกิจกรรมและวิธีการ ดังนี้ วางระบบการติดตาม เช่น ให้ ผอ. สพท. หรือ รอง ผอ. สพท. ช่วยเป็นกลไกในการติดตาม แจ้งเตือนเมื่อใกล้กำหนดการรายงานตัวชี้วัดต่างๆ เช่น รายงานรอบ 6, 9, 12 เดือน ฯลฯ แจ้งล่วงหน้า เผื่อเวลาแก้ไข ขยันทวง อดทนต่อคำเสียดสี มุ่งมั่นใน ความดีงามและภาพรวม สพท. บันทึกรายงานผู้บริหารหรือที่ประชุมให้ทราบเป็นระยะๆ เช่น กำหนดการติดตามที่ประชุมผู้บริหาร ฯลฯ Check : 3. การติดตามงาน 6
7
จัดประชุมคณะทำงาน KRS ARS เพื่อสรุปและ รายงานผล จัดทำเอกสารอ้างอิงตามแบบฟอร์มที่กำหนด แนบ ไฟล์ในระบบให้ถูกต้อง ทันเวลา แก้ไขตามความเห็นของผู้รับรองข้อมูล ( ตาม ระยะเวลาที่กำหนด ) Print ผลการรายงานรอบ 6, 9 และ 12 เดือน จากหน้าระบบ KRS ARS และเสนอ ผอ. สพท. เพื่อ รับทราบ ไม่ต้องจัดทำรูปเล่มใดๆ ส่งมาที่ กพร. Act : 4. การประเมินและรายงาน ผล 7
8
ข้อสังเกตที่ได้จากสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่มีคะแนนสูง / ต่ำ 8
9
ประโยชน์ที่ได้จากการทำคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดในหน่วยงานตื่นตัวและสนใจ เรียนรู้ เกิดกระบวนการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและระหว่าง สำนักงานเขตพื้นที่ สร้างความท้าทายและความมุ่งมั่น เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาในภาพรวม 9
10
ข้อสังเกตหน่วยงานที่มีคะแนนคำรับรอง การปฏิบัติราชการสูง บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทำด้วยความสนุก ผู้บริหารสนับสนุน มีระบบและกระบวนการสื่อสารตัวชี้วัดที่ครอบคลุม สอดรับ กับยุทธศาสตร์และการประเมินอื่นๆ ทำต่อเนื่องด้วยความพยายามและมุ่งมั่นร่วมกัน กล้าคิด กล้าทำในสิ่งที่แตกต่าง เกิดผลงานแปลกใหม่ เกิดประโยชน์ต่อการทำงาน มีความภาคภูมิใจที่ได้รับผิดชอบภารกิจนี้ 10
11
ข้อสังเกตหน่วยงานที่มีคะแนนคำรับรอง การปฏิบัติราชการต่ำ ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร ขาดความจริงจัง และความต่อเนื่องของบุคลากร ผู้รับผิดชอบ บุคลากรในองค์การไม่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล ความเข้าใจในตัวชี้วัดยังคลาดเคลื่อน ตัวชี้วัดที่ควบคุมความสำเร็จไม่ได้มีคะแนนต่ำมาก 11
12
THANK YOU 12
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.