ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุนีย์ สมิธ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย., น.ภ., สบอ.8 (ข.ก.), สบอ.10 (อ.ด.) และ สจป.7 (ข.ก.)
2
1) การเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลาย ทรัพยากรป่าไม้ (ตามกลยุทธ์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1) 2) การฝึกอบรมเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากร ธรรมชาติ (ตามกลยุทธ์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 1) 3) การประเมินผลการปฏิบัติตามแผนแม่บท (ตามกลยุทธ์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1) 4) การจัดทำแนวเขตทรัพยากรปาไม้ทุกประเภทให้เป็นแนวที่ชัดเจน (ตามกลยุทธ์ที่ 10 ยุทธศาสตร์ที่ 3) ในฐานะ กอ.รมน.จังหวัด ได้รับการสนับสนุนงบประมาณให้ ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ ดังนี้
3
หน่วยได้กำหนดแผนงานและลำดับการดำเนินการดังนี้ 1. ประชุมบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อช./ปม./ตร./กอ.รมน./ปกครอง/กกล.รส. ประจำพื้นที่) 2. การจัดชุด ลว.(ชุดละ 10 นาย) ประกอบด้วย กอ.รมน./ปม./อช./กกล.รส.(ทพ.)/ตร./ผู้นำท้องถิ่น) 3. แบ่งพื้นที่รับผิดชอบ 4. ฝึกทบทวนชุด ลว. ก่อนออกปฏิบัติภารกิจ 5. ออกคำสั่งโดย กอ.รมน.จังหวัด 6. เบิก/จ่าย งบประมาณ 7. ปฏิบัติภารกิจตามแผนที่กำหนด โดยใช้สถิติคดี,พื้นที่ที่ถูกบุกรุก,การแจ้งข่าวสารจากแหล่งข่าว ถ้า ตรวจพบการกระทำผิด ก็ดำเนินคดีตามกฎหมาย 8. รายงานผลการปฏิบัติให้ กอ.รมน.จังหวัด เพื่อรายงานให้ กอ.รมน.ภาค 2 และ ศปป.4 กอ.รมน. ทราบต่อไป 9. จัดประชุมเพื่อหาข้อบกพร่อง และแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 10. จัดตั้งกลุ่มไลน์ (line) เพื่อรางานผลการปฏิบัติประจำวัน 11. หน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่ ส่งสรุปการปฏิบัติงานให้ กอ.รมน.จังหวัด (รอบ 6 เดือน) เพื่อรับการ ประเมินจาก กอ.รมน.ภาค 2 และ ศปป.4 กอ.รมน. ต่อไป
4
เพื่อให้ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยั่งยืน ควรดำเนินการดังนี้ 1. วิจัย ให้เป็นระบบในเรื่องการแก้ไขปัญหาการบุกรุกทำลายป่า 2. วิเคราะห์ โดยใช้หลัก SWOT Analysis 3. กำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เป้าหมาย โครงการ/แผนงาน และงบประมาณ 4. จัดทำ ROAD MAP ในการดำเนินการตามแผนแม่บท 5. ดำเนินการตาม ROAD MAP โดยบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ติดตามและประเมินผลโครงการ
5
7. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 7.1 มั่นคง/การหยุดยั้งการลดลงของพื้นที่ป่า - หยุดยั้งการลดลงของพื้นที่ป่า - ทวงคืนพื้นที่ป่า - นำพื้นที่ป่ามาฟื้นฟู 7.2 มั่งคั่ง/ประโยชน์ - ใช้ประโยชน์โดยตรวจทางทรัพยากร - ใช้ประโยชน์ทางอ้อมจากป่า - ใช้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและรักษาสมดุลธรรมชาติ - ใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและเรียนรู้จากป่า 7.3 ยั่งยืน/การดุแลป่าที่ดีและทัศนคติเชิงบวก - จัดการทรัพยากรป่าไม้แบบธรรมาภิบาล - คนอยู่ร่วมกับป่าอย่างสมดุล - ตระหนักและสนับสนุนการอนุรักษ์และดูแลป่าไม้
6
เห็นควรดำเนินการดังนี้ การเพิ่มประสิทธิภาพ - เพิ่มระยะเวลาในการฝึกทบทวนก่อนออกปฏิบัติงานในแต่ละงวด - เพิ่มการตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด ร่วมกับ ปม./อช. - ควรจัดมีแบบฟอร์มการรายงานที่ชัดเจน เช่น แบบฟอร์มการประเมินผล และ แบบฟอร์มการรายงานประจำวัน/เดือน/ไตรมาสต์/งวด/ปี การจัดสรรงบประมาณ - เพิ่มการจัดสรร งป. ให้กับหน่วยที่มีพื้นที่รับผิดชอบมากจากงวดละ 60 วัน เป็นงวดละ 90 วัน - เพิ่ม งป.ในการฝึกทบทวน - เพิ่ม งป.กองอำนวยการในการตรวจเยี่ยม - เพิ่ม งป.สนับสนุนการจัดตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด - เพิ่ม งป.เป็นค่ารับรองการประชุมฯ ทั้งการ ลว. และประเมินผล
7
เห็นควรดำเนินการดังนี้ 1. จัด จนท.เข้ารับการอบรมร่วมกับ ศปป.4 กอ.รมน. ในเรื่องการประเมินผล 2. เชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมประชุมฯ เพื่อขยายผลการปฏิบัติ โดยเชิญวิทยากรจาก ศปป.4 กอ.รมน. ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 3. ประสานคลัง จว. ในเรื่องงบประมาณที่โอนลงมายังจังหวัด 4. แต่งตั้งคณะทำงานประเมินผลฯ 5. จัดทำแผนการประเมินฯ 6. เชิญหน่วยร่วมรับทราบการดำเนินงานตามแผนงานฯ 7. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการปฏิบัติงานและประเมินผลตามแผนงานที่กำหนด 8. หน่วยส่งรายงานผลการปฏิบัติ พร้อมจัดทำรูปเล่ม ส่งให้ กอ.รมน.จังหวัด เพื่อ รายงานให้ กอ.รมน.ภาค 2 และ ศปป.4 กอ.รมน. ทราบต่อไป 9. เชิญหน่วยประชุมเพื่อรับทราบปัญหาข้อขัดข้องจากการดำเนินการที่ผ่านมา ไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.