ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย
2
ที่มา.. ของการประกันคุณภาพ การศึกษา พ. ร. บ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 ฯ หมวด 6 มาตรา 47 48 49 ( ม.4, 6) กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ. 2553 ประกาศคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกัน คุณภาพภายใน ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2554
3
พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 47 ให้มีระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา ทุกระดับ
4
จัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในเป็นส่วน หนึ่งของกระบวน การบริหารการศึกษา พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 48
5
ให้มีสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา พ. ร. บ. การศึกษา มาตรา 49
6
การประเมินคุณภาพภายใน หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัด การศึกษา การติดตาม และ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ที่ กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กำหนดสำหรับการประกันคุณภาพ ภายใน ซึ่งกระทำโดยบุคลากรของ สถานศึกษานั้น หรือโดยหน่วยงาน ต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแล สถานศึกษา กฎกระทรวงฯ 2553
7
การประเมินคุณภาพ ภายนอก หมายถึง การ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ซึ่งกระทำโดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์การมหาชน ) หรือผู้ประเมิน ภายนอก ( ที่สำนักงาน ดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการ ประกันคุณภาพและให้มีการ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา )
8
กฎกระทรวงฯ 2553 การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา หมายถึง กระบวนการพัฒนา การศึกษา เข้าสู่คุณภาพที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของชาติ โดยมีการกำหนด มาตรฐานการศึกษา การ จัดระบบและโครงสร้าง การ วางแผน และ การดำเนินงาน ตามแผน รวมทั้งการสร้าง จิตสำนึกให้เห็นว่า การพัฒนา คุณภาพการศึกษาจะต้อง ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และเป็น ความรับผิดชอบร่วมกันของทุก คน
9
ข้อ 14 ให้สถานศึกษาฯ จัดระบบประกัน คุณภาพภายในตาม หลักเกณฑ์และแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน (8 องค์ประกอบ ) กฎกระทรวงฯ 2553
10
ข้อ 15 ( ว่าด้วยเรื่อง ) การกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา ฯ ข้อ 16 ( ว่าด้วยเรื่อง ) การ จัดทำแผนพัฒนา การ จัดการศึกษา ในข้อ 14 (2) กฎกระทรวงฯ 2553
11
ให้ สถานศึกษา จัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา (8 องค์ประกอบ ) ฯลฯ ให้ต้นสังกัด ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี ฯลฯ ประกาศคณะกรรมการ ประกันฯ สพฐ.2554
12
มาดู รายละเอียด ในกฎ กระทรวงฯ พ. ศ. 2553 กัน
13
พ. ร. บ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุดกระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
14
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้ง การศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และ บูรณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับการศึกษา
15
มาตรา 4 การประกันคุณภาพ ภายใน หมายถึง การ ประเมินผลและการ ติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษาจากภายใน
16
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดำรงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข
17
ข้อ 3 ระบบการประกัน คุณภาพภายในเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและพัฒนา มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย 1. การประเมินคุณภาพภายใน 2. การติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา 3. การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา
18
ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กำหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2554
19
การประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Quality Assurance) หมายถึง การสร้างมาตรฐาน คุณภาพของการบริหารจัดการ และดำเนินกิจกรรมตามภารกิจ ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง สร้างความมั่นใจให้กับ ผู้รับบริการทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวม
20
การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) หมายถึง การประเมินผลและ ติดตามตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา นั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้น สังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแล สถานศึกษานั้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.