งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ๑.เพื่อศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบริเวณบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ในการพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒.เพื่อวิเคราะห์รูปแบบเส้นทางท่องเที่ยวเชิง นิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ใน การพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มี ศักยภาพ ๑.เพื่อศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบริเวณบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ในการพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒.เพื่อวิเคราะห์รูปแบบเส้นทางท่องเที่ยวเชิง นิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ใน การพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มี ศักยภาพ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด คณะผู้วิจัยได้ กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัยไว้ ดังนี้ ๑. ขอบเขตด้านพื้นที่ ได้แก่ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึง บอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา ๒. ๑ ศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ และนำเสนอรูปแบบทางเลือกในการพัฒนา เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒. ๒ ศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนบน เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ โดยจำแนกออกเป็น ๕ ประเด็นดังนี้  การมีส่วนร่วมด้านการคิด วางแผนและตัดสินใจ  การมีส่วนร่วมด้านการลงทุน  การมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติ  การมีส่วนร่วมด้านการติดตามและประเมินผล  การมีส่วนร่วมด้านการรับผลประโยชน์ และ ผลกระทบ ๓. ขอบเขตด้านประชากร สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดกลุ่ม ประชากร เป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๓. ๑ กลุ่มของชุมชนบนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของของบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๓. ๒กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวกับโครงการ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของของบึงบอระเพ็ดจังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๓กลุ่มบริษัทนำเที่ยวที่เปิดให้บริการนำเที่ยวตาม เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๔กลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณบึงบอระเพ็ด ที่ มีส่วนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ร้านขายของฝากของที่ ระลึก ผู้ประกอบการโรงแรมและที่พัก การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด คณะผู้วิจัยได้ กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัยไว้ ดังนี้ ๑. ขอบเขตด้านพื้นที่ ได้แก่ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึง บอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา ๒. ๑ ศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ และนำเสนอรูปแบบทางเลือกในการพัฒนา เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒. ๒ ศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนบน เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ โดยจำแนกออกเป็น ๕ ประเด็นดังนี้  การมีส่วนร่วมด้านการคิด วางแผนและตัดสินใจ  การมีส่วนร่วมด้านการลงทุน  การมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติ  การมีส่วนร่วมด้านการติดตามและประเมินผล  การมีส่วนร่วมด้านการรับผลประโยชน์ และ ผลกระทบ ๓. ขอบเขตด้านประชากร สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดกลุ่ม ประชากร เป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๓. ๑ กลุ่มของชุมชนบนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของของบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๓. ๒กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวกับโครงการ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของของบึงบอระเพ็ดจังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๓กลุ่มบริษัทนำเที่ยวที่เปิดให้บริการนำเที่ยวตาม เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๔กลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณบึงบอระเพ็ด ที่ มีส่วนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ร้านขายของฝากของที่ ระลึก ผู้ประกอบการโรงแรมและที่พัก ๑.ชุมชนมีส่วนร่วมในเส้นทางการท่องเที่ยวเชิง นิเวศใน ๕ ประเด็นในระดับน้อยมาก ส่วนใหญ่ จะเป็นการวางแผนการท่องเที่ยวโดย หน่วยงานของรัฐ อันได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย โดยชาวบ้านมีส่วนร่วมเพียงเข้า มาค้าขายในแหล่งท่องเที่ยว รับจ้างขับเรือชม ระบบนิเวศรอบบึงบอระเพ็ด เท่านั้น ๒.รูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใน บึงบอระเพ็ดแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนท่องเที่ยว หลักได้แก่ ๑. ส่วนอุทยานนกน้ำ ๒. ส่วนศูนย์ ประมงน้ำจืด และ ๓. ส่วนพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ รายละเอียดแต่ละส่วนแสดงดังภาพประกอบ ๑.ชุมชนมีส่วนร่วมในเส้นทางการท่องเที่ยวเชิง นิเวศใน ๕ ประเด็นในระดับน้อยมาก ส่วนใหญ่ จะเป็นการวางแผนการท่องเที่ยวโดย หน่วยงานของรัฐ อันได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย โดยชาวบ้านมีส่วนร่วมเพียงเข้า มาค้าขายในแหล่งท่องเที่ยว รับจ้างขับเรือชม ระบบนิเวศรอบบึงบอระเพ็ด เท่านั้น ๒.รูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใน บึงบอระเพ็ดแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนท่องเที่ยว หลักได้แก่ ๑. ส่วนอุทยานนกน้ำ ๒. ส่วนศูนย์ ประมงน้ำจืด และ ๓. ส่วนพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ รายละเอียดแต่ละส่วนแสดงดังภาพประกอบ คณะผู้วิจัยใครขอขอบคุณสำนักงานการ อุดมศึกษา ผู้ให้ทุนหลักในการศึกษาวิจัยและ ชุมชนโดยรอบบึงบอระเพ็ด รวมถึงแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ ซึ่งล้วนเป็นประโยชน์และมีส่วนทำให้ งานวิจัยเล่มนี้สำเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดี ๑.จัดทำเอกสาร หนังสือเพื่อเป็นความรู้เรื่อง เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ๒.จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับชุมชน สร้าง มัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้กับ นักท่องเที่ยวในแต่ละจุดของบึงบอระเพ็ด ๓.จัดตั้งกลุ่มหรือชมรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถี ของชุมชนโดยรอบ บึงบอระเพ็ด โดย หน่วยงานรัฐเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุน เพื่อ ความเข้มแข็งและมีศักยภาพของชุมชน ๑.จัดทำเอกสาร หนังสือเพื่อเป็นความรู้เรื่อง เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ๒.จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับชุมชน สร้าง มัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้กับ นักท่องเที่ยวในแต่ละจุดของบึงบอระเพ็ด ๓.จัดตั้งกลุ่มหรือชมรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถี ของชุมชนโดยรอบ บึงบอระเพ็ด โดย หน่วยงานรัฐเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุน เพื่อ ความเข้มแข็งและมีศักยภาพของชุมชน ๑.ศึกษาปัญหา และผลกระทบหลังจากการ พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบึง บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ เปรียบเทียบศักยภาพของชุมชนก่อนและหลัง การพัฒนา ๒.ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของ นักท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด เพื่อนำผลไป พัฒนาให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๑.ศึกษาปัญหา และผลกระทบหลังจากการ พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบึง บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ เปรียบเทียบศักยภาพของชุมชนก่อนและหลัง การพัฒนา ๒.ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของ นักท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด เพื่อนำผลไป พัฒนาให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


ดาวน์โหลด ppt ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google