ระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ (Engine lgnition System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การสื่อสารข้อมูล.
การถอดประกอบชุดกลไกลิ้นของเครื่องยนต์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
บัญญัติ 10 ประการ เพื่อการขับรถประหยัดเชื้อเพลิง
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องยนต์ เครื่องยนต์.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
หลักการทำงานของเครื่องยนต์
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
DC Voltmeter.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
เครื่องมือช่างยนต์ (Auto Mechanic hand tools)
Watt Meter.
โครงสร้างของเครื่องยนต์
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Basic Input Output System
Scene Design and Lighting Week1-3
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง. โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง บทคัดย่อ เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในทางทันตกรรมบางชนิดมีความแหลมคม เช่น เครื่องขูดหินปูน เครื่องมือตกแต่งวัสดุอุดฟัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี
หน่วยที่ 3 แบตเตอรี่ นายศุภชัย ชัยวงษ์ แผนกวิช่างยนต์
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
แผ่นดินไหว.
ระบบทำความเย็น.
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
พนักงานขับรถยกด้วยความปลอดภัย
เค้าท์ นิโครลาส ออตโต ที่มา มนุษย์ได้คิดค้นและประดิษฐ์ยานพาหนะ ทางบกที่สามารถขับเคลื่อนได้ด้วยกำลัง งานของตัวเอง มาเป็นระยะเวลานานแล้ว.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
การทำงานของวาล์วแปรผันในเครื่องยนต์บลูคอร์ (Variable Valve Actuation)
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ (Engine lgnition System)

หน้าที่ของระบบจุดระเบิด ระบบจุดระเบิด (Ignition system ) ของเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน ทำหน้าที่ผลิตและส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าแรงสูงให้กับหัว เทียน ทำให้เกิดประการไฟฟ้าที่เคี่ยวหัวเทียนภายในกระบอกสูบ ในจังหวะที่ถูกต้องแน่นอนและในเวลาที่เหมาะสมกับจังหวะจุด ระเบิดของเครื่องยนต์

หน้าที่ของระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ ระบบจุดระเบิด (อินิชั่น ซิสเท็ม : Ignition system ) ของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ทำหน้าที่ผลิตและส่งจ่ายกระแส ไฟฟ้าแรงสูงให้กับหัวเทียน ทำให้เกิดประการไฟฟ้าที่เคี่ยวหัว เทียนภายในกระบอกสูบ ในจังหวะที่ถูกต้องแน่นอนและในเวลา ที่เหมาะสมกับจังหวะจุดระเบิดของเครื่องยนต์

วงจรการจุดระเบิดเครื่องยนต์ ระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ เป็นระบบจุดระเบิดที่ใช้แบตเตอรี่ (Battery) โดยที่แบตเตอรี่จะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 12 โวลต์ เพื่อ ส่งไปยังระบบสตาร์ทและระบบจุดระเบิดของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เมื่อ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังคอยล์จุดระเบิด ก็จะแปลงแรงเครื่องไฟฟ้าให้ สูงขึ้นประมาณ 20,000 – 30,000 โวลต์ เพื่อส่งไปยังจานจ่าย และ จ่ายไปให้หัวเทียนตามสูบต่างๆ เพื่อจุดระเบิดส่วนผสมของอากาศกับน้ำมัน เชื่อเพลิงให้เกิดการเผาไหม้ภายในห้องเผาไหม้และกระบอกสูบของ เครื่องยนต์

วงจรการจุดระเบิดเครื่องยนต์

ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ จะประกอบด้วย ส่วนประกอบของระบบจุดระเบิดเครื่องยนต์ จะประกอบด้วย แบตเตอรี่ (Battery) สวิตช์จุดระเบิดหรือสวิตช์กุญแจ (อินิชั่น สวิตช์ : Ignition switch) จานจ่าย (ดิสทริบูเตอร์ : Distibutor) คอยล์จุดระเบิด (อินิชั่น คอล์ย : Ignition coil ) หัวเทียน (สปาร์ค ปลั๊ก : Spark plug) สายไฟแรงต่ำ ( โล เทนชั่น ไวริ้ง : Lowtension wiring) สายไฟแรงสูง (ไฮ เทนชั่น ไวริ้ง : High tension wiring) คอนเดนเซอร์ (Condenser)

แบตเตอรี่ (Battery)   ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นตัวเก็บ ประจุและจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ ระบบจุดระเบิด เครื่องยนต์ และยังจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับระบบแสงสว่าง ระบบไฟสัญญาณ และเครื่องมือ – อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้กระแสไฟฟ้าในรถยนต์

สวิตช์จุดระเบิด (lgnition switch ) สวิตช์จุดระเบิดเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสวิตช์กุญแจทำหน้าที่ตัดและต่อ กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ของระบบจุดระเบิด สวิตช์จุดระเบิดมีอยู่หลายแบบที่นิยมใช้กันส่วนใหญ่จะมีอยู่ 3 ขั้ว คือ 1.ขั้ว B ขั้วนี้จะเป็นขั้วที่รับกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ (ขั้วบวก +) 2.ขั้ว IG ขั้วนี้จะไปที่ขั้ว + ของคอยล์จุดระเบิด และต่อไปยัง อุปกรณ์อื่นๆ อีก เช่น ระบบแสงสว่าง ระบบไฟสัญญาณ วิทยุ – เทป เครื่องปรับอากาศรถยนต์ เป็นต้น

จานจ่าย (ดิสทริบูเตอร์ : Distributor) จานจ่ายเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากในระบบจุดระเบิด ซึ่งจานจ่ายจะทำ หน้าที่ ดังนี้ 1. ตัด – ต่อวงจรไฟฟ้าแรงดันต่ำของระบบจุดระเบิดโดยการเปิด – ปิด ของหน้าทองขาว (คอนแทค : Contact) 2. รับไฟแรงเคลื่อนสูงจากคอยล์จุดระเบิด และจ่ายไปยังหัวเทียนแต่ละสูบ ตามลำดับการจุดระเบิดของเครื่องยนต์โดยการหมุนของหัวโรเตอร์ (Rotor) 3. กำหนดระยะเวลาในการจุดระเบิด โดยการหมุนเตะของเพลาลูกเบี้ยว 4. เพิ่มระยะเวลาในการจุดระเบิด โดยอุปกรณ์เร่งไฟจุดระเบิดล่วงหน้า

จานจ่าย (ดิสทริบูเตอร์ : Distributor)

คอล์จุดระเบิด (อินิชั่น คอล์ย : lgnition coil ) คอยล์จุดระเบิด ทำหน้าที่ แปลงกระแสไฟฟ้าแรงดันต่ำให้เป็นกระแสไฟฟ้า แรงดันสูงเพียงพอที่จะทำให้เกิดประกายไฟที่เขี้ยวของหัวเทียน ซึ่งภายในคอยล์จุด ระเบิดจะมีขดลวดอยู่ 2 ขด คือ ขดลวดปฐมภูมิ (ไพรมารี่ ไวท์ดิ้ง : Primary winding) และขดลวดทุติยภูมิ (เซกัลดารี่ ไวท์ดิ้ง : Secondary winding) โดยที่ขดลวดปฐมภูมิจะเป็นขดลวดเส้นใหญ่ (เป็นลวดทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 –1 มิลลิเมตร )

หัวเทียน (สปาร์ค ปลั๊ก : Spark plug ) หัวเทียนจะติดตั้งอยู่ที่ฝาสูบของเครื่องยนต์ ทำหน้าที่รับไฟแรงเคลื่อน สูงจากจานจ่ายเพื่อให้ไฟ กระโดดข้ามช่องว่างของเขี้ยวหัวเทียนไปลงกราวด์ และนำผลของการ กระโดดที่เรียกว่าสปาร์ค (Spark)ไปจุดระเบิดส่วนผสมของอากาศกับ น้ำมันเชื้อเพลิงภายในห้องเผาไม้หรือในกระบอกสูบ ทำให้เครื่องยนต์ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คอนเดนเซอร์ (Condenser ) โดยทั่วไปคอนเดนเซอร์จะถูกติดตั้งอยู่ภายนอกของเรือนจานจ่าย และ ต่อขนานกับหน้าทองขาว แรงดันไฟฟ้าจะถูกเหนี่ยวนำให้เกิดมากขึ้นใน ขดลวดทุตินิยม คอนเดนเซอร์ ทำหน้าที่ช่วยให้เส้นแงแม่เหล็กยุบตัวอย่างรวดเร็ว โดย การรับประจุไว้เพื่อไม่ให้กระแสไฟฟ้ากระโดดข้ามที่หน้าทองขาว (Contact) และเพื่อป้องกันไม่ให้หน้าทองขาวเกิดการไหม้ เนื่องจาก การอาร์ค

สรุป ระบบจุดระเบิดในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนเป็นระบบที่มีความสำคัญมากใน เครื่องยนต์แก๊สโซลีน นอกจากอากาศที่ผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิง หรือไอดีที่เข้าไป ในกระบอกสูบแล้ว การจ่ายไฟแรงสูงให้กับหัวเทียนก็เพื่อทำการเผ่าไหม้ไอดีใน ห้องเผ่าไหม้ก็เป็นส่วนที่สำคัญที่ทำให้เครื่องยนต์สามารถทำงานได้ หน้าที่ของ ระบบจุดระเบิดคือ ทำให้เกิดกระแสไฟแรงสูง แล้วจ่ายไปยังหัวเทียนในกระบอก สูบของเครื่องยนต์ในจังหวะระเบิดของแต่ละสูบ ในส่วนของเครื่องยนต์ดีเซลจะ ไม่มีระบบจุดระเบิดแต่จะมีระบบที่ช่วยในการสตาร์ตในช่วงเช้าในขณะที่ เครื่องยนต์ยังเย็นอยู่มีอุณหภูมิที่ต่ำ